Page 36 - AnnualReport256
P. 36
กระแสชื่นชมว่าเป็นต้นแบบของงานคุณภาพ อาทิ ละคร “จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี”
“ครูมะ ห้อง ป.3 ก.” “Reunion-เรียนอยู่นี่” “จังหวะชีวิตลิขิตฝัน” และชุดสารคดี
หรือชุดข้อมูลสื่อสารแบบ Data Visual อีกหลายชุด ซึ่งในปี 2566 นี้ ไทยพีบีเอส
ี
ู
จะเดินหน้าผลิตรายการท่มีคุณภาพสูง และจะตอบสนองผ้ชมในโลกของ On-Demand
มากขึ้น
ความคุ้มค่าในการดำาเนินงานของไทยพีบีเอสซึ่งวัดจากการมีบทบาทกระตุ้น
่
ี
ั
่
้
ให้เกิดการเปล่ยนแปลงทางสังคมนั้น นับว่าการขบเคลือนวาระลดความเหลอมลา
ื
ํ
ั
ในปี 2565 - 2566 มีความโดดเด่น ท้งในแง่ของการออกแบบวาระท่อย่บนฐาน
ี
ู
ของความร่วมมือทางวิชาการจากภาคีวิจัยหลายหน่วยงาน และการจัดกระบวนการ
ื
ระดมความคิดเพ่อหาทางออกอย่างสร้างสรรค์ร่วมกับองค์กรเครือข่ายต่าง ๆ
ทั้งหน่วยงานรัฐ เอกชน และภาคประชาชน ดังตัวอย่างของ “ปูแป้น” ในสารคดีชุด
ี
ี
่
้
ั
ิ
่
ี
ำ
ู
คนจนเมอง และอกหลายกรณทนาไปสการระดมแนวทางแกปญหาเชงระบบจาก
ื
หลายภาคี
ี
เช่นเดียวกับการทาวาระปลุกกรุงเทพฯ เปล่ยนเมืองใหญ ในช่วงเลือกต้ง
ำ
ั
่
ผ้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ซ่งไทยพีบีเอสจับมือกับภาคี 80 กล่ม/องค์กร
ึ
ู
ุ
ื
ำ
ี
ทากระบวนการรวบรวมข้อเสนอนโยบายสาธารณะเพ่อการเปล่ยนเมืองใน 6 มิติ
่
ื
ั
ั
่
่
ี
ี
่
่
ู
ี
ู
เช่น เมองทน่าอย เมองทปลอดภย เมืองทมความเป็นธรรม ฯลฯ ยนต่อผ้สมคร
ี
ื
ื
และได้มีกลไกติดตามต่อเนื่องในการทำางานของคณะผู้บริหาร กทม. และ สภา กทม.
จนมีบางเรื่องที่เห็นการเปลี่ยนแปลงแล้ว เป็นต้น
ำ
ื
แน่นอนว่าการทางานส่อสารบนหลักการของประโยชน์สาธารณะตลอด 15 ป ี
มาน้ไม่ใช่เร่องง่าย แต่ในยุคพลิกผันทางดิจิทัลน้ย่งมีความยากมากข้น เพราะการ
ิ
ี
ึ
ี
ื
ู
นาเสนอเน้อหาท่ดต้องไปพร้อมกบวิธีการนาเสนอท่เข้าถงผชมซงมีความแยกย่อย
่
ึ
้
ึ
ำ
ี
ี
ำ
ื
ั
ี
ี
้
่
ั
้
ั
หลากหลายและมีความสามารถในการเลือกสอเองด้วย ดงนน ไทยพบีเอสจงเขาส ู ่
ื
ึ
ี
่
ิ
ั
ิ
แผนการเปลยนแปลงดจทล (Digital Transformation) อย่างเต็มตัวในปี 2565
ี
ี
ื
หลังจากท่มีการปรับตัวมาอย่างต่อเน่องในหลายปีมาน้ โดยมีการทบทวนแผน
34 Thai PBS 2565