Page 101 - ThaiPBSWAY3
P. 101
ั
ั
ื
ื
ื
ั
ื
อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นส่อด้งเดิม ส่อออนไลน์ หรือส่อทนสมยอ่น
ในอนาคต ย่อมมีหลักการพ้นฐานไม่แตกต่างกัน เช่น องค์ประกอบ
ื
โครงสร้างข่าว รูปแบบการเขียนข่าว การใช้ภาษาในการเขียนข่าว
รวมทั้งปัจจัยในการเขียนข่าวให้น่าสนใจ โดยเฉพาะสื่อออนไลน์ จ�าเป็น
ต้องมีทักษะในการ “ย่อควำม” และการเรียบเรียงเนื้อหาให้สั้น กระชับ
ชัดเจน
องค์ประกอบโครงสร้างข่าว
ื
�
การเขียนข่าวในส่อหนังสือพิมพ์ จะประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๓ ส่วน
�
ื
�
คือ วรรคนาหรือความนาข่าว (Lead) ส่วนเช่อม (Neck) และเน้อหาข่าว
ื
(Body)
ั
�
�
วรรคนาหรือความนาข่าวน้น ในการปฎิบัติงานจริง เราเรียกว่า
“โปรยข่ำว” คือย่อหน้าแรกของข่าว ถัดลงมาจากหัวข่าว โปรยข่าวคือ
ึ
ั
�
ื
สรุปย่อสาระสาคัญของข่าวน้น ซ่งอาจมีหลายเร่อง หลายประเด็น โดย
ี
�
จะมีความยาวประมาณ ๒ - ๓ บรรทัด การโปรยข่าวท่ดี เรียงลาดับ
�
เน้อหาดี จะช่วยให้หัวข่าวน้นบอกประเด็นหรือใจความสาคัญได้ชัดเจน
ั
ื
ส�าหรับสื่อออนไลน์ โปรยข่าว หรือวรรคน�า คือหัวใจส�าคัญในการน�าไป
สู่หัวข่าวที่สื่อความได้ชัดเจนเช่นเดียวกัน
ส่วนเชื่อม จะเป็นย่อหน้าถัดมาจากย่อหน้าแรก เป็นส่วนที่เชื่อมโยง
ี
ื
ความสัมพันธ์สู่เน้อหาข่าว หน้าท่หลักคือ บอกแหล่งท่มาของข่าว ให้ราย
ี
ิ
ิ
ละเอียดเพ่มเติม เก่ยวกับบุคคล สถานท่ ส่งของ ซ่งไม่สามารถเขียนไว้ได้
ึ
ี
ี
�
ึ
ในความนาข่าว หรือให้ภูมิหลังของเหตุการณ์ท่เกิดข้น ในกรณีท่ข่าวม ี
ี
ี
ความต่อเน่องมาก่อนหน้าน้ ซ่งในกรณีของการเขียนข่าวออนไลน์
ี
ึ
ื
�
ั
ื
ื
ี
ท่ต้องการเน้อความท่ส้น กระชับ ชัดเจน ส่วนเช่อมจึงอาจไม่มีความจาเป็น
ี
101