Page 24 - ThaiPBSWAY3
P. 24
หัวข่าวและการเขียนข่าวออนไลน ์
แม้ยุคสมัยจะเปลี่ยนไป หัวข่าวในสื่อประเภทหนังสือพิมพ์ ก็ยังคงมี
ื
ี
ื
ื
ั
ความเช่อมโยงถึงส่อวิทยุโทรทัศน์ รวมท้งส่อออนไลน์ด้วยท่ต่างไปก็คือ
�
ื
อาจไม่จาเป็นต้องใช้ตัวอักษรขนาดใหญ่เพ่อสร้างความสนใจ ยกเว้น
ื
โปสเตอร์ข่าว และการพาดหัวข่าวในแบบหนังสือพิมพ์ในส่อโทรทัศน์
บางช่อง เช่น ไทยรัฐทีวี เป็นการพัฒนารูปแบบการให้หัวข่าว โดยใช้แบบ
ตัวอักษรหรือฟอนต์เช่นเดียวกับท่ใช้ในหนังสือพิมพ์ มาพาดหัวข่าวบน
ี
หน้าจอโทรทัศน์ประกอบระหว่างรายการข่าวด้วย
ี
�
�
ี
�
หัวข่าวทาหน้าท่บอกความสาคัญของข่าว ใช้ถ้อยคาท่มีนาหนัก
้
�
ั
ั
ื
ิ
ส้น กระชบ ก่อนเข้าสู่เน้อหาข่าว กรณีท่เป็นส่อวทยุและโทรทัศน์
ี
ื
ี
ั
ื
เลือกใช้คาท่ส้น กะทัดรัด ชัดเจน ในการพาดหัวข่าว กรณีส่อออนไลน์
�
ก็เช่นเดียวกัน
ึ
หัวข่ำวเป็นส่วนหน่งของโครงสร้ำงข่ำว (News Story Structure)
ี
ท่ประกอบด้วย หัวข่ำว (Headline) ควำมน�ำข่ำว (Leads) ส่วนเช่อม
ื
ควำมน�ำข่ำวกับเนื้อเรื่อง (Neck) และเนื้อเรื่องหรือเนื้อข่ำว (Body)
ซึ่งจะกล่ำวต่อไปในส่วนของกำรเขียนข่ำวออนไลน์ บทที่ ๔
การกาหนดหัวข่าวและการการเขียนข่าวออนไลน์ โดยพ้นฐานจาเป็น
�
�
ื
จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง “ประเด็นข่ำว” ก่อน ประเด็นข่าว
จะทาให้เข้าใจเน้อหาสาคัญของข่าว ซ่งจะเป็นแนวทางในการเลือกใช้คา �
ื
�
ึ
�
ื
ในกรณีพาดหัวข่าว หรือการจัดลาดับความสาคัญของเน้อหาในการเขียน
�
�
ข่าว ในขณะเดียวกัน พาดหัวข่าวในส่อออนไลน์ อาจเปล่ยนแปลงได้
ื
ี
ี
ี
ื
�
ตลอดเวลาในประเด็นท่เปล่ยนไปตามสถานการณ์ เน่องจากไม่มีข้อจากัด
ในเรื่องเวลา
หัวข่าวออนไลน์ จะอยู่บนรูปแบบของ ปกข่าว โปสเตอร์ข่าว อัลบั้ม
ื
ื
ภาพ และอาจมีความหมายถึงการให้หัวข่าวหรือหัวเร่องในลักษณะอ่นๆ
เช่น โปสเตอร์สารคดีด้วย
24