Page 197 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2562
P. 197
การนำาเสนอรายงานผลการปฏิบัติงานปี พ.ศ. 2561
ขององค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.)
ต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา
เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.2562 และวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2. ด้านเนื้อหา ในประเด็นการอภิปรายเรื่องบทบาทการ
2562 องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย ตรวจสอบทุจริตและภัยแล้ง ไทยพีบีเอสให้ความสำาคัญกับการทำา
(ส.ส.ท.) หรือไทยพีบีเอส เข้ารายงานผลการปฏิบัติงานประจำาปี พ.ศ. ข่าวสืบสวนสอบสวนการทุจริตและโครงการต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบ
2561 ต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ตามลำาดับ กับประชาชนมาโดยตลอด โดยมีรางวัลข่าวสืบสวนสอบสวน
ประเด็นที่ผู้บริหาร ส.ส.ท. ได้ตอบภายหลังรับฟังการอภิปราย สรุปได้ ยอดนิยมต่างๆ เป็นหลักประกัน และยังนำาข้อมูลการตรวจสอบทุจริต
ดังนี้ เหล่านี้ขึ้นบนเว็บไซต์ของไทยพีบีเอส เพื่อย้อนให้เห็นว่าได้ทำาเรื่องนี้
1. ด้านความคุ้มค่า ต้นทุนในการผลิตรายการของไทยพีบีเอส มาอย่างไรบ้าง สำาหรับประเด็นภัยแล้งเป็นวาระสำาคัญที่ไทยพีบีเอส
อยู่ที่ 3.70 บาทต่อนาที หากทว่าไทยพีบีเอสมิได้ดำาเนินงานเพียงแค่ นำาเสนออย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ.2561 ได้นำาเสนอ
การรายงานข่าวหรือผลิตแค่รายการทางโทรทัศน์ แต่นำาเสนอเนื้อหา ไปแล้วไม่ตำ่ากว่า 150 ชิ้น และยังมีสารคดีที่ภาคภูมิใจนำาเสนอคือ
ต่าง ๆ บนแพลตฟอร์มทุกช่องทาง โดยมีผู้เข้าถึงช่องทางออนไลน์ สารคดีเดินทวนนำ้า ซึ่งนำาแนวพระราชดำาริของในหลวงรัชกาลที่ 9
เพิ่มขึ้นแบบก้าวกระโดดจากปี พ.ศ. 2560 และยังเข้าถึงกลุ่มคนที่มี เรื่องการแก้ปัญหานำ้าในทุกรูปแบบมาเป็นแกนหลักของเนื้อหา
โอกาสเข้าถึงสื่อได้น้อย เช่น คนพิการ คนเปราะบางต่างๆ มากกว่า 3. ด้านการเพิ่มจำานวนผู้ชม ไทยพีบีเอสวางตำาแหน่ง
สื่อหลักทั่วไป รวมทั้งยังสร้างการมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วน ตั้งแต่ (Positioning) ของสถานีใว้ชัดเจนว่าเป็นสื่อร่วมสร้าง Informed
การจัดกิจกรรมสร้างพื้นที่เรียนรู้ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค Citizen เพื่อสร้างฐานผู้ชมในกลุ่มนี้ และใช้งานสร้างสรรค์ทำาให้
สร้างความร่วมมือกับภาครัฐ เอกชน และประชาสังคมขับเคลื่อน สาระต่างๆ เข้าถึงประชาชนกลุ่มใหญ่ได้มากขึ้น มีการขยายฐาน
นโยบายและประเด็นสาธารณะให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ผู้ชมในสื่อใหม่ ด้วยการเปิดช่องทางออนไลน์ในรูปแบบ OTT
หลายเรื่อง ซึ่งนับเป็นความคุ้มค่ามากกว่าการใช้เพียงเรตติงทีวี (Over - The - Top) เพื่อให้เป็นช่องทางเข้าถึงกลุ่มคนรุ่นใหม่ และ
มาวัดเท่านั้น เนื่องจากเรตติงทีวี ใช้เป็นเครื่องมือของการหารายได้จาก ตั้งเป้าหมายมุ่งสู่ Mobile First ในปี พ.ศ.2564
โฆษณา แต่ไทยพีบีเอสในฐานะสื่อสาธารณะที่มีพันธกิจตามมาตรา 7 4. ด้านข้อสังเกตทางรายงานการเงิน : ไทยพีบีเอสมีเงินสด
ของพระราชบัญญัติองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะ เงินลงทุนชั่วคราว และเงินลงทุนระยะยาวรวม 3,000 กว่าล้านบาท
แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2551 ได้ให้ความสำาคัญกับเครื่องมือวัด ในจำานวนนี้มีภาระผูกพันที่ต้องจ่าย รอจ่าย และเป็นแผนการลงทุน
เชิงคุณภาพ เช่น การใช้ Quality Rating ในการประเมินรายการ ในอนาคตจำานวน 2,500 กว่าล้านบาท คงเหลือเงินหมุนเวียน
ซึ่งนำาเอาหลักการของสื่อสาธารณะสากลมาพัฒนาเพื่อวัดคุณภาพ ประมาณ 800 ล้านบาทเท่านั้น
เนื้อหา การประเมินผลกระทบทางสังคม เป็นต้น และยังคงนำาเรตติง 5. ด้านการทบทวนพระราชบัญญัติ ส.ส.ท. ในปี พ.ศ. 2561
ทีวีเชิงปริมาณมาใช้อ้างอิงเพื่อปรับปรุงและพัฒนาตัวเองให้เป็นสื่อ มีการจัดเวทีทั้งสิ้น 8 ครั้ง โดยเชิญผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมให้ความเห็น
ที่นำาเสนอสาระ และได้รับความนิยมจากผู้ชมไปพร้อมกันด้วย ดังนั้น และมีทีมนักวิชาการจัดทำารายงานศึกษาวิเคราะห์ในประเด็นต่าง ๆ
การประเมินความคุ้มค่าจึงต้องพิจารณาให้ครอบคลุมไปถึงภารกิจของ ได้รวบรวมข้อเสนอทั้งหมดจัดทำาเป็นรายงาน ซึ่งจะนำากลับไปหารือ
สื่อสาธารณะที่มีมากกว่าการผลิตรายการทางโทรทัศน์เพื่อแข่งขัน ในที่ประชุมกรรมการนโยบาย หากจะต้องจัดทำากระบวนการเพิ่มเติม
สร้างยอดผู้ชมเท่านั้น ตามที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาให้คำาแนะนำา
63-01-101_178-196 TPBS_J-Uncoatedc dic2019.indd 196 6/17/20 2:14 AM