Page 42 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2562
P. 42

การประเมินผลตอบแทนทางสังคม
                                      จากการขับเคลื่อนประเด็น “สารเคมีการเกษตร” ของไทยพีบีเอส




                              นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 จนถึงปัจจุบัน การเผยแพร่ข่าว รายการ และการลงพื้นที่อย่างต่อเนื่องของทีมงานไทยพีบีเอส
                        ได้สร้างการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบทางสังคม (Social Impact) จากการขับเคลื่อนประเด็น “สารเคมีการเกษตร”
                        อย่างชัดเจน จากการเก็บรวบรวมข้อมูลในพื้นที่จังหวัดหนองบัวลำาภู โดยศูนย์วิจัยและให้คำาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัย
                        ธรรมศาสตร์พบว่า เกษตรกรมีการใช้สารเคมีการเกษตรลดลง ขณะที่ปริมาณพื้นที่เกษตรปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น คู่ขนาน

                        ไปกับยอดผู้ป่วยเนื้อเน่าอันเป็นผลมาจากสารเคมีการเกษตรมีจำานวนลดลงจนกลายเป็นศูนย์
                              การเผยแพร่ข่าว รายการ และการลงพื้นที่อย่างต่อเนื่องของทีมงานไทยพีบีเอสยังได้สร้างผลกระทบในวงกว้าง

                        โดยกลุ่มผู้บริโภคมีความตื่นตัวและเฝ้าระวังการปนเปื้อนสารเคมี 3 สารในพืชผักเพิ่มมากขึ้น จนนำาไปสู่การเปลี่ยนแปลง
                        เชิงนโยบายเเละการจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาผลกระทบจากสารเคมีทั้ง 3 ชนิด (พาราควอต คลอร์ไพรีฟอส
                        และไกลโฟเซต) อย่างจริงจัง และได้มีการออกมาตรการจำากัดการใช้ 3 สารดังกล่าวจากคณะกรรมการวัตถุอันตราย
                        ที่มีนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นประธาน

                          “    การลดใช้สารเคมี มีผลเป็นรูปธรรม ผลการใช้สารเคมีลดลง โดยมีการสุ่มตรวจใน 5 อำาเภอ



                               (ในจังหวัดหนองบัวลำาภู) พบว่า ปี พ.ศ. 2560 มีค่าเฉลี่ยการใช้สารเคมี 1.3 ลิตรต่อไร่
                               ปี พ.ศ. 2562 ค่าเฉลี่ยการใช้สารเคมี 0.8 ลิตรต่อไร่ ส่วนในพื้นที่ ต.บุญทัน พบว่า
                                                                                                           ”
                               ในปี พ.ศ. 2560 มีค่าเฉลี่ยการใช้สารเคมี 1.4 ลิตรต่อไร่ แต่ปี พ.ศ. 2562 พบเพียง 0.5 ลิตรต่อไร่เท่านั้น


                               ทพญ.วรางคณา อินทโลหิต ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองบัวล�าภู



                          “   เมื่อก่อนไม่เคยมีคำาพูดว่า “ความปลอดภัยของอาหาร” แต่จากการนำาเสนอข่าวนี้ของไทยพีบีเอส


                              คนไทยเริ่มตระหนักกับคำาคำานี้ หลังจากนั้นจังหวัดเพชรบูรณ์ พิจิตร ให้ไปช่วยทำาวิจัยตรวจสารเคมี

                              ซึ่งไทยพีบีเอสตามไปช่วยรายงานข่าวทุกที่ จนเกิดคำาว่า Green Market สร้างระบบระวัง ”


                              รศ. ดร.พวงรัตน์ ขจิตวิชยานุกูล นักวิจัย สกว. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


                           “   การนำาเสนอผลกระทบจากการใช้สารเคมี เผยแพร่ผลงานวิจัยที่มีหลักฐานชัดเจน



                               ก่อให้เกิดมาตรการจำากัดการใช้ 3 สารจากคณะกรรมการวัตถุอันตราย
                               ทำาให้ทุกคนตระหนักหมดทั้งผู้นำาเข้า ผู้ขาย 3 สารเคมี ทั้งผู้ใช้สารเคมี และผู้บริโภค
                                                                         ”
                               จนนำาไปสู่ชาวบ้านเลิกใช้สารเคมี หันมาใช้เกษตรอินทรีย์


                               นายชนะ ไชยฮ้อย เกษตรจังหวัดหนองบัวล�าพู







                                                                                                                 41
                                                                                                   ผลงานเด่นแห่งปี 2562




        63-01-101_014-020,025-049_4c TPBS_J-Uncoatedc dic2019.indd   41                                           6/16/20   10:31 PM
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47