Page 34 - AnnualReport2563
P. 34
การเข้าถึงข้อมูลความรู้ของผู้พิการทางการได้ยิน
ในสถานการณ์การระบาดโควิด 19
ู
ื
ี
ในสถานการณ์การระบาดของโควิด 19 ไทยพีบีเอสเผยแพร่รายการท่มีบริการเพ่อผ้พิการทางการได้ยิน
จ�านวน 20 รายการ ครอบคลุมทั้งรายการข่าว การติดตามการแถลงสถานการณ์โควิด 19 สารคดี รายการอาหาร
ั
และสุขภาพ การ์ตูน ซีรีส์ และสาระบันเทิงต่าง ๆ ครอบคลุมท้งการให้บริการค�าบรรยายแทนเสียง (Closed
Caption) ค�าบรรยายแทนเสียงแบบสด (Live Caption) ล่ามภาษามือ (Sign Language Interpreter) และ
บริการทางออนไลน์ ภาษามือเต็มจอ (Big Sign) ทั้งนี้ จากการส�ารวจความคิดเห็นของผู้พิการทางการได้ยินจ�านวน
ั
ู
ุ
828 คน จากทุกภูมิภาคท่วประเทศ ควบค่กับการสนทนากล่ม ในช่วงเดือนกันยายน - พฤศจิกายน พ.ศ. 2563
โดยมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ พบว่า
บริการที่ผู้พิการทางการได้ยินเปิดรับชมมากที่สุดคือ บริการล่ามภาษามือ (Sign Language Interpreter)
ั
และภาษามือเต็มจอ (Big sign) ดังรายละเอียดในแผนภูมิท่ 1 ท้งน้ จากการสนทนากล่มพบว่า ผ้พิการทางการได้ยิน
ี
ู
ุ
ี
สามารถรับร้ข้อมูลข่าวสารจากภาษามือได้อย่างชัดเจนและสร้างความเข้าใจได้มากกว่าการอ่านข้อความ
ู
จากค�าบรรยายแทนเสียง
ร้อยละประเภทของบริการเพื่อคนพิการจากไทยพีบีเอส
ที่ผู้พิการทางการได้ยินเปิดรับชม
แผนภูมิที่ 1 การแสดงร้อยละประเภทของบริการเพื่อคนพิการจากไทยพีบีเอสที่ผู้พิการทางการได้ยินเปิดรับชม
รายการที่ผู้พิการทางการได้ยินเปิดรับชมมากที่สุดในช่วงสถานการณ์การระบาดของโควิด 19 (COVID-19)
ื
ู
ู
ู
คือ รายการไทยส้โควิด-19 รายการร้ส้ภัย Don’t Panic และรายการจับตาสถานการณ์ เน่องจากเป็นรายการ
ู
ี
ท่ช่วยให้ผ้พิการสามารถติดตามข้อมูลได้ทันสถานการณ์ ท้งในด้านการป้องกันตนเอง การรักษาโรค การดูแล
ั
ู
ด้านจิตใจ รวมไปถึงสิทธิการเยียวยาและช่องทางการขอรับความช่วยเหลือของผ้พิการทางการได้ยิน ดังปรากฎ
ในแผนภูมิที่ 2
33
ไทยพีบีเอส 2563