Page 49 - AnnualReport2564
P. 49
ื
ี
ึ
ทิศทางเนื้อหาด้านภัยพิบัติ : นอกห้องเรียน ทาง ALTV ซ่งเยาวชนได้ลงพ้นท่ฝึกฝนจริง
สร้างความตระหนักรู้ เพื่อลดความเสี่ยง สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ทั้งกับตัวเองและคนในครอบครัว
�
ไทยพีบีเอสให้ความสาคัญกับการส่อสารภัยพิบัต ิ นอกจากนี้ มีกิจกรรมความร่วมมือเครือข่ายนักสื่อสาร
ื
ั
ื
�
เพราะถือว่าเป็นวิกฤติสาคัญของสังคม และเพ่อสร้างความ ภัยพิบัติกับหน่วยงานท้งในและต่างประเทศ อาทิ ความร่วมมือ
ี
ี
ตระหนักรู้ ลดความเส่ยงท่เกิดข้นจากภัยพิบัติ จึงมีการผลิต กับกลุ่มงานระดับสากล ได้แก่ UNDP, UNDRR, ADPC และ
ึ
ิ
รายการ “รู้สู้ภัย” รายการสารคดีวิทยาศาสตร์ส่งแวดล้อม TNDR เรื่อง Climate Change, ขยะทะเล, ปฏิญญาอันดามัน
ื
เพ่อสร้างการตระหนักรู้ในเชิงป้องกัน เตรียมพร้อมรับมือ และ PM2.5 ภัยพิบัติประเภทหมอกควันไฟป่า กับ สสส.
ี
ู
ิ
ิ
�
ลดการสญเสย และรายการ “2 องศาทามาหากน ดนฟ้า เครือข่าย อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ กลุ่มเยาวชนอาสาดับไฟป่า
ี
อากาศ” รายงานข่าวรายวัน เสนอปัญหาการเปล่ยนแปลง ดอยช้างป่าแป๋ จ.ล�าพูน เป็นต้น
ึ
สภาพภูมิอากาศและเหตุภัยพิบัติ ซ่งนอกจากการรายงาน ศูนย์รวมองค์ความรู้ด้านภัยพิบัติทางออนไลน์
ี
ั
�
ี
ิ
สถานการณ์แล้ว ยังมีความรู้จากนักวิชาการ เพ่อเพ่มมิติข้อมูล ไทยพบเอสจดทาแพลตฟอร์มออนไลน์ ผ่านเพจ
ื
เชิงลึกมากยิ่งขึ้น “ศูนย์พัฒนาการสื่อสารด้านภัยพิบัติ” โดยมีหมุดหมายให้
ี
ื
สื่อสารเพื่อสร้างความตระหนักรู้ ลดความเสี่ยงภัยพิบัติ เป็นศูนย์รวบรวมข้อมูลข่าวสาร ความรู้ภัยพิบัติ ท่น่าเช่อถือ
�
ั
ให้กบประชาชน เพอสามารถนาเป็นข้อมูลอ้างอิง ท้งในช่วง
ั
่
ื
ปี 2564 ได้ผลิตเนื้อหาด้านภัยพิบัติ 6 ประเด็น ได้แก่
�
(1) โควิด 19 น�าเสนอเรื่องชุมชนสู้โควิด ที่เสนอบทเรียนการ สถานการณ์ภัยพิบัติต่าง ๆ โดยในปี 2564 มีจานวนผู้เข้าถึง
รับมือ การป้องกัน การจัดการและการเรียนรู้อยู่กับการแพร่ 7.3 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 117 ผู้ติดตาม 2 หมื่นคน เพิ่มขึ้น
ระบาดของไวรัสโควิด 19 อย่างไรให้ปลอดภัย (2) หมอกควัน ร้อยละ 85.9 การมีส่วนร่วม (Engagement) 1.8 ล้านคน
ไฟป่าและฝุ่น PM2.5 เสนอรูปแบบการป้องกันไฟป่าและการ เพิ่มขึ้นร้อยละ 139
็
ู
ื
้
รับมือเร่องฝุ่น (3) ส่งแวดล้อมและภัยพิบัติทางนา นาเสนอ ด้านเวบไซต์ http://dxc.thaipbs.or.th เป็นศนย์
ิ
�
�
ิ
้
ั
ิ
ิ
ู
์
้
ั
ื
้
ท้งปัญหา การรับมือ การป้องกันเร่องนา และการเปล่ยนแปลง ข้อมลบทวิเคราะหดานภยพบัตและส่งแวดลอมจากนกวิชาการ
ั
ี
�
ั
ี
ี
ี
ี
ของสภาพภูมิอากาศ (4) ความปลอดภัยทางถนน เพื่อเรียนรู้ ท่ปรึกษาของศูนย์ รวมท้งผู้เช่ยวชาญในสาขาท่เก่ยวข้อง
ิ
ั
รับมือกับอุบัติเหตุบนท้องถนน (5) ความม่นคงทางอาหาร และพัฒนางานด้านออนไลน์ เพ่มช่องทางการติดต่อการรับรู้
สร้างสมดุลโลก สร้างอาหารปลอดภัย น�าเสนอ“โคกหนองนา ข้อมูล องค์ความรู้ต่างๆ ให้เข้าถึงคนรุ่นใหม่เพิ่มขึ้น
โมเดล” สู้ อยู่ รอด ตามศาสตร์พระราชา และ (6) ประเด็น
ี
ภัยพิบัติอื่น ๆ อาทิ ถอดบทเรียนจุดเปล่ยนหายนะไฟไหม้
สารเคมี ช้างปลอดภัย - คนปลอดภัย กับปฏิบัติการเฝ้าระวัง
ช้างป่า รับมือภัยพิบัติดินโคลนถล่ม เป็นต้น
ร่วมมือกับเครือข่ายผลักดันจนเกิดการเปลี่ยนแปลง
ื
ไทยพีบีเอสโดยศูนย์พัฒนาการส่อสารด้านภัยพิบัต ิ
ร่วมกับเครือข่ายภาคประชาสังคมผลักดันให้มีการทบทวนการ
ก่อสร้างโครงการผันนาแม่ยวมเพ่อแก้ปัญหานาแล้ง จนเกิด
�
�
ื
้
้
ี
การเปล่ยนแปลง มีการจัดงานเสวนาวิชาการคู่ขนาน ระดม
ความเห็นจากนักวิชาการ เพ่อจุดกระแสและติดตามการดาเนิน
�
ื
งานของกรมชลประทานจนท�าให้เกิดการทบทวนการก่อสร้าง
ศูนย์พัฒนาการส่อสารด้านภัยพิบัติให้ความสาคัญใน
�
ื
ั
ิ
่
การเพมทักษะการเอาตวรอดด้วยวธีทถกต้องเมอเกดเหต ุ
ิ
่
่
ิ
ื
ี
ู
ภัยพิบัติ การสร้างการตระหนักรู้ปัญหาโลกรวน (Climate
Change) โดยเริ่มจากการปลูกฝังในกลุ่มเยาวชน ผ่านรายการ
The Camp ค่ายหรรษา และรายการ 2 องศานวัตวิถ ี
48
ไทยพีบีเอส 2564