Page 139 - 13 STORIES เรื่องเล่าที่อยากบอก ภารกิจสื่อเกาะติดปฏิบัติการช่วยเหลือ 13 ชีวิตติดถ้ำหลวง
P. 139
“เราติดตามข้อมูลจากข่าว จากคนในพื้นที่และจากทีมข่าวศูนย์เหนือด้วย เพราะมี “บอล” พิเชษฐ์ ตัณติโรจนกุล
ผู้สื่อข่าวศูนย์ข่าวภาคเหนือลงพื้นที่ไป โดยช่วงแรกเป็นการประสานสนับสนุนการท�างานทีมภายใน เช่น ในตอนกลาง
คืนที่ยังค้นหาเด็กไม่พบ ทีม สคส.ภาคเหนือ โดย “เอ็ม” สุรพงษ์ พรรณวงษ์ ติดตามความคืบหน้าร่วมกับ “บอล”
และช่วยกันประเมินว่าสถานการณ์แบบนี้ บอลน่าจะรายงานสดเหตุการณ์หรือท�าเฟซบุ๊กไลฟ์เลย ยิ่งดึก คนก็ยิ่งห่วง
เด็ก ความสนใจเรื่องนี้เพิ่มขึ้น ต้องการติดตามต่อเนื่อง น้องๆ ปรึกษากันถึงขั้นไปซื้อซิมโทรศัพท์มาเปลี่ยนส�ารองด้วย
้
�
ื
ั
ิ
เพราะสัญญานโทรศัพท์บริเวณหน้าถาไม่ค่อยดี เม่อบอลเร่ม Live พวกเราก็ไม่ได้หลับไม่ได้นอน ลุ้นท้งการตามหาเด็กๆ
ลุ้นทั้งการรายงานสดของบอลเพื่อนร่วมงานเราด้วย” พี่อ้อเล่า
อีกช่องทางหนึ่ง ที่ทีม สคส.ติดตามข้อมูลคือ ทวิตเตอร์ ซึ่ง “เอ็ม” สุรพงษ์ พรรณวงษ์ และ “เต้”ธันวา ศรีสุภาพ
2 หนุ่มทีมจากภาคเหนือและอีสาน ร่วมกันติดตามและรายงานข้อมูลทางทวิตเตอร์ส่วนตัว ทวิตเตอร์นักข่าวพลเมือง
้
ื
�
ไทยพีบีเอส ทวิตเตอร์TheNorthองศาเหนือ และสร้าง hashtag #เด็กติดถา #ถาหลวง เพ่อให้คนได้เข้ามาอัปเดต
�
้
สถานการณ์นี้ ซึ่งมีชาวโซเชียลเข้ามาพูดคุยด้วยมากมาย รุ่งขึ้นทีม สคส.กลับสู่สถานีด้วยความรู้สึกยังติดค้างว่าจะมีวิธี
การใดช่วยเหลือเด็กๆ ได้ภายใต้เวลาที่จ�ากัดและสถานการณ์คับขันเช่นนี้
จุดประกายภารกิจ!!!
ภารกิจของ ทีมสคส. เริ่มจุดประกายขึ้นเมื่อพบความเคลื่อนไหวของพลเมือง
ั
ี
�
“เรากลับมาท่สถานี น่งคุยกันว่าทาอย่างไรกันต่อ ขณะมอนิเตอร์โซเชียลมีเดีย เฟซบุ๊ก เราเห็นคุณก๋อ (อนุกูล
ื
้
�
้
�
�
ี
้
�
ี
สอนเอก) นักภูมิศาสตร์ และนักสารวจถา ท่เคยเข้าไปสารวจถาหลวงมา ได้โพสต์แผนท่เส้นทางในถาหลวง แผนท่น ้ ี
ี
�
น่าจะเป็นแผนที่ฉบับแรกๆ ที่ท�าให้มีข้อมูลเกี่ยวกับถ�้าหลวงมากขึ้น และคนก็แชร์มาที่ไทม์ไลน์และกล่องข้อความพี่อ้อ
ื
ั
�
เยอะมาก แต่ก็ยังไม่ทันได้ตอบอะไรเพราะกาลังศึกษารายละเอียดอยู่ ช่วงเวลาน้นเอง คุณโจ้ (ณัฐพล สิงห์เถ่อน) มูลนิธ ิ
กระจกเงา เครือข่ายจัดการด้ายภัยพิบัติ จ.เชียงรายท่เคยทางานด้านแผ่นดินไหว และหมอกควันร่วมกัน โทรมาหาพ่และ
ี
ี
�
ี
บอกว่า แผนท่ของคุณอนุกูลท่มีคนแชร์กันอยู่ตอนน้น่าสนใจมาก ถ้าเราได้พิกัดทิศ และส่งต่อให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลย ี
ี
ี
ราชมงคลล้านนา น่าจะสามารถเขียนเป็นแผนภาพสามมิติ (3D Map) ได้ จะติดต่อเจ้าของแผนที่นี้ได้อย่างไร พี่อ้อไม่ได้
รู้จักคุณอนุกูล แต่คิดว่าจะลองประสานคุยกับเขา เพื่อเชื่อมเครือข่ายให้ได้รู้จักและประสานกันต่อ”
ระหว่างน้น อาจารย์แจง (ดร.นิอร สิริมงคลเลิศกุล) อาจารย์ประจาสาขาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
�
ั
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จังหวัดเชียงราย ซ่งเคยทางานร่วมกันเร่องหมอกควันภาคเหนือ ก็ได้แผนท ่ ี
ึ
ื
�
่
ฉบับนี้เชนกัน และก�าลังพยายามประสานส�านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน) หรือ
์
จิสด้า (Gistda) เรื่องการเขียนภาพแผนที่ต่างๆ เพื่อสนับสนุนการค้นหา 13 ชีวิต ช่วงเวลานี้เองที่พี่อ้อเริ่มสังเตุกว่า
เครือข่ายภาคประชาชนในเชียงรายที่เคยท�างานร่วมกันเริ่มลุกขึ้นมาอยากช่วยเหลือในเหตุการณ์นี้แล้ว
“ถ้ำเขำลุกขึ้นมำอยำกจะช่วยจัดกำรกับสถำนกำรณ์นี้ เรำจะเชื่อมให้เขำได้ท�ำงำนร่วมกันได้อย่ำงไร”
139