Page 145 - 13 STORIES เรื่องเล่าที่อยากบอก ภารกิจสื่อเกาะติดปฏิบัติการช่วยเหลือ 13 ชีวิตติดถ้ำหลวง
P. 145
ปักหมุดจุดพิกัด!!!
ึ
ื
ี
�
�
ี
่
คิม ไชยสุขประเสริฐ เจ้าหน้าท่พัฒนาเครือข่ายส่อพลเมือง ซ่งเป็นทีมงานคนสาคัญทประจาการอยู่ตรงจุดลงทะเบียน
และสังเกตุการณ์การท�างานของเครือข่าย ได้อธิบายเพิ่มเติ่มว่า “ช่วงเวลานั้น ไทยพีบีเอสพัฒนาแอปพลิเคชัน C-Site
ื
�
ี
ึ
ี
ี
�
ซ่งก็เป็นแอปพลิเคชันท่ใช้ในการทาแผนท่ภาพต่างๆท่ทางานร่วมกับเว็บไซต์เพ่อการรายงานข่าวทางโทรศัพท์มือถือและ
ปักพิกัดแผนที่ได้ ในช่วงที่เราลงพื้นที่หลังถ�้าก็คิดว่าจะเอาแอปพลิเคชันของเราไปใช้สนับสนุนงานในพื้นที่ แต่พอเข้า
พื้นที่เราพบปัญหาแรกคือสัญญาณอินเทอร์เน็ต สัญญาณมือถือไม่มี เลยเป็นเรื่องยาก
ี
ึ
�
�
้
ึ
อย่างไรก็ตาม ส่งหน่งท่ได้เรียนรู้และเกิดข้นจากการเฝ้าสังเกตุการณ์การทางานของเครือข่ายหลังถา พบว่า “ข้อมูล”
ิ
และ “พิกัด” มีความส�าคัญมาก โดยทีมท�างานที่เป็นนักภูมิศาสตร์และท�างานกับแผนที่ต่างๆ ต้องมี GPS แยกเฉพาะ
ที่ใช้ในการวัดหาพิกัด และการตั้งค่าความละเอียดแม่นย�าสูง เพราะว่าเวลาเขาเข้าไปในป่าเขาต้องใช้วิธีเดินเท้า ส�ารวจ
ค�านวณค่าต่างๆ มีการส่งสัญญาณรายงานสิ่งที่พบเจอระหว่างกัน เช่น มีร่องชั้นหินจุดนั้นจุดนี้ จากนั้นก็ต้องมานั่งจับ
พิกัดกันว่าต้องไปซ้าย ไปขวา หรือเดินหน้าต่อส�าหรับโพรงหรือร่องต่างๆ ที่พบนั้น และจะมีการขยายพื้นที่การส�ารวจ
ื
ี
ในลักษณะน้ออกไปเร่อยๆ และเก็บภาพและพิกัดส่งมาให้ผู้เช่ยวชาญวิเคราะห์ได้ เพ่อท่จะประเมินว่าท้ายถามีความเป็น
ื
ี
ี
�
้
ไปได้หรือไม่ที่จะเจอหรือเข้าใกล้ตัวเด็กให้มากที่สุด”
อีกอย่างหนึ่ง ที่เอ็ม สุรพงษ์ ท�าคือ ใช้โทรศัพท์มือถือถ่ายภาพจุดที่เราไป เพราะเมื่อถ่ายภาพด้วยโทรศัพท์มือถือ จะ
ี
มีพิกัดฝังอยู่ในภาพ พอเปิดพิกัดภาพถ่าย เราก็จะรู้ได้อย่างคร่าวๆ ว่าเราอยู่พิกัดไหน แต่พออยู่ในจุดท่อับสัญญาณพิกัด
ที่ปรากฎอยู่เหล่านี้ ก็จะคลาดเคลื่อนอยู่บ้าง ช่วงที่ฟ้าเปิด เราก็จะเห็นว่าจุดแต่ละจุด ว่าสภาพพื้นที่เป็นอย่างไร แต่พอ
เข้าไปลึกมากๆ ก็จะไม่มีสัญญาณ
145