Page 19 - 13 STORIES เรื่องเล่าที่อยากบอก ภารกิจสื่อเกาะติดปฏิบัติการช่วยเหลือ 13 ชีวิตติดถ้ำหลวง
P. 19
�
ี
ั
้
ี
ทุกวันน้เด็กๆ หมูป่าได้กลับมาใช้ชีวิตปกติอีกคร้ง แต่แน่นอนว่า 18 วันท่ติดอยู่ในถาและการรับรู้ภายหลังว่าคน
ท้งโลกได้แสดงความเป็นหน่งเดียวในการช่วยเหลือและเอาใจช่วยให้ทุกคนรอดออกมาอย่างปลอดภัยอย่างไร คงเป็น
ั
ึ
ประสบการณ์ที่จะอยู่ในความรู้สึกและความทรงจ�าของเด็กเหล่านี้ตลอดไป
�
ื
มันเป็นปรากฏการณ์ท่ให้บทเรียนมากมาย โดยเฉพาะสาหรับส่อมวลชนกระแสหลัก และโดยเฉพาะอย่างย่ง
ี
ิ
ื
ี
ื
ี
�
ไทยพีบีเอสในฐานะส่อสาธารณะท่ให้ความสาคัญกับเหตุการณ์น้อย่างต่อเน่องและจริงจังนับแต่วันแรกของเหตุการณ์
จนถึงวันที่นักฟุตบอลตัวจิ๋วทั้งหลายรอดพ้นจากอันตรายและกลับไปใช้ชีวิตปกติ
ิ
ี
ื
ี
ส่งหน่งที่เราได้เรียนรู้จากเหตุการณ์น้ก็คือ ในยุคดิจิทัลน้สังคมมีความคาดหวังต่อส่อกระแสหลักมากกว่าเร่อง
ื
ึ
ื
ความเร็วและความหวือหวา ไม่มีใครปฏิเสธว่าส่อกระแสหลักไม่ได้เป็นผู้นาในเร่องความเร็วในการรายงานเหตุการณ์
ื
�
อีกแล้ว บทบาทนี้ถูกโซเชียลมีเดียแย่งไปอย่างที่ไม่มีทางเอาคืนได้อีกแล้ว
ยิ่งในสถานการณ์ที่เป็นวิกฤตและบีบคั้นอย่างภารกิจที่ถ�้าหลวง สังคมมีความคาดหวังต่อสื่อกระแสหลักมากกว่าใน
ื
ี
�
�
สถานการณ์ปกต นอกจากการรับรู้ว่าเกิดอะไร สังคมต้องการข้อมูลท่เช่อถือได้ และคาอธิบายท่ทาให้เข้าใจต่อทุกความ
ี
ิ
ี
ี
ั
ี
ื
เคล่อนไหว และโดยเฉพาะในวิกฤตคร้งน้ท่มีชีวิตของเด็กๆ และโค้ชถึง 13 คนเป็นเดิมพัน การรายงานข่าวท่ประคับคอง
ความรู้สึกและให้ความหวังดูเหมือนเป็นสิ่งที่คนในสังคมอาจต้องการมากที่สุด
ื
ี
ส่อไทยโดยท่วไปอาจเคยชินกับการรายงานข่าวแบบแข่งขันเพ่อให้ได้ภาพและข่าวได้เร็วท่สุด พร้อมกับการสร้าง
ั
ื
ความต่นเต้นเร้าใจให้มากท่สุด จนหลายคร้งก้าวข้ามเส้นของความพอดีและเข้าข่ายละเมิดจริยธรรมและสิทธิส่วนตัว
ื
ี
ั
ของคนที่ตกเป็นข่าวด้วยซ�้า จนท�าให้สื่อตกเป็นเป้าของการวิพากษ์วิจารณ์อย่างมาก จนน�ามาซึ่งวิกฤตศรัทธาต่อสื่อ
แต่ในการรายงานเหตุการณ์ถ�้าหลวงครั้งนี้ ดูเหมือนสื่อไทย โดยเฉพาะสถานีโทรทัศน์ จะมีความระมัดระวังมากขึ้น
ถึงแม้สถานการณ์จะเต็มไปด้วยการแข่งขัน แต่ส่วนใหญ่ก็พยายามหลีกเล่ยงความหวือหวาและไม่นาเสนอภาพหรือข้อมูล
ี
�
ื
ั
ี
ี
ท่สร้างความต่นตระหนก สาเหตุอาจเป็นเพราะส่อส่วนใหญ่ตระหนกถึงความอ่อนไหวของสถานการณ์ท่มีชีวิตเด็กๆ เข้า
ื
มาเก่ยวข้อง และเสียงเตือนจากเจ้าหน้าท่และบุคคลท่เก่ยวข้องท่ไม่ต้องการเห็นส่อแข่งขันกันจนลืมผลกระทบต่อความ
ื
ี
ี
ี
ี
ี
รู้สึกของญาติพี่น้องของเด็กๆ และคนในสังคม
ี
ี
ื
การท่ไทยพีบีเอสชูธงนาในการรายงานเหตุการณ์น้ต้งแต่เร่มต้นด้วยการอิงกับแนวปฏิบัติทางจริยธรรมของส่อ
ั
ิ
�
�
สาธารณะอย่างเคร่งครัดอาจมีส่วนในการทาให้ส่อท่วไปตระหนักถึงความจาเป็นในการทาหน้าท่อย่างระมัดระวังเพราะ
�
�
ื
ี
ั
การเปรียบเทียบได้เกิดขึ้น
ตลอดเวลาเกือบสามสัปดาห์ประเทศไทยได้กลายเป็นจุดสนใจของคนท่วโลก นักข่าวและช่างภาพหลายร้อยคนจาก
ั
ี
�
ื
ั
ทุกมุมโลกมารวมตัวกันอยู่ท่น่นและรายงานข่าวกลับไปแบบแทบจะนาทีต่อนาท มีความเห็นท่หลากหลายเม่อการทา
ี
ี
ี
ึ
หน้าท่ของส่อไทยและต่างประเทศถูกเปรียบเทียบ ซ่งในความเป็นจริงต่างก็มีจุดแข็งและจุดอ่อนของตัวเอง แต่การ
ื
ื
่
ี
่
ิ
ี
ู
�
ั
ี
่
ี
ื
เปรยบเทยบและความเห็นทตามมาน่าจะเป็นประโยชน์อย่างมากสาหรบสือไทยในการเรยนร้จากเพ่อนสอต่างชาตใน
การรายงานข่าวในสถานการณ์ที่แหลมคมเช่นนี้ โดยเฉพาะในด้านการเล่าเรื่องและรูปแบบการน�าเสนอ
19