Page 118 - AgingSociety
P. 118

ดูแลกันเอง มีเงินยังชีพจากเบี้ยคนชราและเบี้ยผู้พิการ,  ลุงบุญเลิศ ผู้
                  สูงวัยที่ต้องดูแลภรรยา  (care giver) ที่มีภาวะติดเตียงมากว่า 16 ปี
                               ิ
                  แล้ว จนตัวเองเร่มมีอาการเจ็บป่วยเอง, ปู่สาย ผู้ป่วยติดบ้าน ท่ลูกต้อง
                                                                    ี
                  ท�ามาหากินไม่มีเวลามาเอาใจใส่ ต้องจ้างพี่เลี้ยงมาดูแลแทน, ยายติ่ง
                               ี
                                                     ี
                  ผู้ป่วยติดเตียงท่ต้องนอนอยู่ตามยถากรรมท่บ้าน ไม่มีคนดูแล และพา
                  ไปรักษาตัวเพราะลูกของยายก็ยากจนและป่วยเป็นโรคไตจนแทบช่วย
                  เหลือตัวเองไม่ได้
                                            ั
                                         ิ
                                   ู
                                    ู
                                                                     ี
                         รวมไปถึงผ้สงวัยตดสงคมอย่างป้านันทาทแม้จะมความ
                                                              ี
                                                              ่
                                                   �
                  บกพร่องทางการได้ยิน และเป็นโรคประจาตัวอีกหลายอย่าง แต่เธอก ็
                  เป็นคนอารมณ์ดี จนตามไปพบว่าแม้ป้าจะไม่ได้มีฐานะความเป็นอยู่ด ี
                           ื
                                                               �
                  ไปกว่าคนอ่นๆ แต่การอยู่พร้อมหน้าพร้อมตามลูกๆ ทาให้ป้านันทา
                  กลายเป็นผู้สูงวัยที่มีสุขภาพจิตที่ดีมาก
                                 �
                                                   ี
                         จากการทางานของจูนและทีมเย่ยมบ้าน ทาให้พบว่า บริการ
                                                           �
                  สาธารณสุขที่ผู้สูงวัยสามารถเข้าถึงได้เป็นสิ่งจ�าเป็น แต่การเยียวยาผู้
                  สูงวัย ไม่อาจใช้ยาในการรักษาเพียงอย่างเดียว ต้องอาศัยการใช้
                  “หัวใจ” การพูดคุยและใส่ใจพวกท่านด้วย แม้โครงสร้างครอบครัว
                  ของสังคมไทยจะเปล่ยนไป แต่ความอบอุ่นในครอบครัวก็ยังคงเป็น
                                   ี
                  ปัจจัยส�าคัญต่อสุขภาพจิตของผู้สูงวัย
                                                     ี
                         ภาพของผู้สูงวัยจากสารคดีตอนน้อาจไม่ใช่ตัวแทนของผู้สูง
                                              ่
                  วัยทุกกลุ่มของประเทศไทย แตก็นาจะครอบคลุมผู้สูงวัยที่ขาดโอกาส
                                           ่
                             ่
                  และมีรายได้ตากว่าเส้นความจน ซ่งเป็นมีสูงถึง 1 ใน 3 ของประชากร
                                              ึ
                             �
                  สูงวัยของประเทศ  แม้ความสุขของสูงวัยไม่วัดกันท่ความยากมีจน
                                                             ี
                  เพียงอย่างเดียว แต่การจัดสวัสดิการของรัฐของอาจจะต้องหา “จุด
                  พอดี” เพื่อให้ผู้สูงวัยมีคุณภาพชีวิตที่ดีถ้วนหน้ามากขึ้น




                  สังคมสูงวัยกับความใส่ใจของไทยพีบีเอส                 107
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123