Page 141 - AgingSociety
P. 141
รุ่นลูก คนในรุ่นพ่อแม่ที่อยู่ตรงกลาง “Sandwich Generation” คือ
กลุ่มที่ต้องแบกรับภาระในการดูแลคนอีก 2 รุ่นในครอบครัว ค�าถาม
ี
ั
ุ
ึ
่
ี
่
�
ู
ทางเศรษฐกิจจงเกิดข้นว่า คนร่นทอย่ตรงกลางทเป็นกาลงในการเล้ยง
ึ
ี
ดูครอบครัวจะแบกรับภาระน้ไหวหรือไม่ และภาครัฐจะมีหนทางใน
ี
การช่วยเหลือคนกลุ่มนี้อย่างไรในระยะยาว
ปัญหาสาคัญอีกประการคือปัญหาด้านการเงินของผู้สูงวัยใน
�
�
ี
ไทย ถ้าหากเป็นผู้สูงวัยท่ไม่มีเงินแล้วอาศัยอยู่ในเมืองก็อาจจะลาบาก
ี
�
เพราะจากข้อมูลของกระทรวงการคลังประเมินว่า จานวนเงินท่ผู้สูง
้
่
วัยที่ควรมีเพื่อใหสามารถใชชีวิตหลังเกษียณไดอยางสบายอยูที่คนละ
้
้
่
2 ล้านบาท
ั
่
ั
่
ั
่
ี
็
่
อยางไรกตาม จากตวเลขดงกลาวหลายฝายยงมองวามความ
�
เป็นไปได้ยาก เพราะในช่วงวัยทางานคนส่วนใหญ่ก็มีภาระทางการเงิน
ี
ิ
มากอยู่แล้ว ส่งที่เกิดขึ้นคือ ภาพคนสูงอายุจานวนมากท่ไม่มีเงินพอใช้
�
ี
ั
ี
ในช่วงบ้นปลายชีวิต ขณะท่ผู้สูงวัยอีกไม่น้อยยังต้องทางานเล้ยงชีพ
�
โดยได้รับค่าตอบแทนต�่ากว่าที่ควร
ี
“อย่างกรณีของป้าสงัดท่เราถ่ายทอดผ่านรายการ Gen Old
�
ี
ป้าสงัดอายุหกสิบกว่าปีแล้วยังทางานอยู่ในสถาบันแห่งหน่งท่ต้องการ
ึ
จ้างต่อ แต่จ่ายเงินเดือนได้ไม่ก่พันบาทซ่งน้อยกว่าค่าแรงข้นตา ก็คง
ั
่
ึ
ี
�
เป็นคาถามกลับไปท่หน่วยงานในประเทศไทยไม่ว่าภาครัฐหรือเอกชน
�
ี
ที่บอกว่ามีการจ้างงานผู้สูงอายุนั้นเป็นเพียงการสร้างภาพหรือไม่”
ข้อมูลเปรียบเทียบการเงินของผู้สูงอายุในประเทศญ่ปุ่นท ่ ี
ี
ี
�
เรียนรู้จากการทาสารคดี “Last Home” ทาให้เห็นว่าคนญ่ปุ่นวัย
�
�
�
เกษียณจานวนไม่น้อยท่รับเงินบานาญจากรัฐบาลญ่ปุ่น แต่เลือก
ี
ี
จังหวัดเชียงใหม่เป็นบ้านพักในบั้นปลาย
130 เ องเ ่าค ท างา ส อสา า ไทยพีบีเอส