Page 159 - AgingSociety
P. 159
ี
“จริงๆ คอนเทนต์นอกจากวางท่เว็บไซต์ จะถูกเลือกไปปล่อย
ี
ตามทุกช่องทาง อย่างถ้าเป้าหมายเป็นผู้สูงวัยท่จะเล่นเฟซบุ๊กเยอะ
ื
เราจะมีแผนการปล่อยคอนเทนต์ว่าเดือนไหนเป็นธีมเน้อหาอะไร กลุ่ม
ลูกค้าออนไลน์กลุ่มใหญ่จะอยู่ในช่วงอายุประมาณ 18-35 ปี หรือกลุ่ม
ี
จบการศึกษาใหม่ๆ ไปจนถึงวัยท่ทางานไปประมาณ 10 ปี เพราะ
�
ฉะน้น ไม่ว่าคอนเทนต์อะไรก็ต้องมาออกแบบใหม่สาหรับคนกลุ่มน ้ ี
ั
�
เราอาจจะท�าเนื้อหาเกี่ยวกับสังคมสูงวัย แต่ก็ต้องมาออกแบบใหม่ให้
ดูทันสมัย ไม่ได้เล่าให้คนแก่ฟัง แต่เล่าให้ลูกหลานแล้วไปคุยกับพ่อแม่
้
ี
ู
ื
ี
หรอคนวัยท่ระดับกลาง มีลก มพ่อแม่ การแปลงเนอหาจากทีวีเป็น
ื
�
แบบออนไลน์เราก็ไม่ได้ทาให้ผู้สูงวัยดูอย่างเดียว อาจจะมีเร่องเล่าด ี
ื
ู
อย่แล้ว แต่มาปรบการนาเสนอในรปแบบต่างๆ กน คนดูอาจจะเสพ
ั
ั
�
ู
ด้วยความสนุกมากกว่า”
ั
ิ
ั
“เปิดใจคณยายวย 91 ปีบัณฑต มสธ.เรียนอ่านให้ทนโลก”
ุ
ื
ี
ี
�
ึ
เป็นตัวอย่างหน่งของการนาเน้อหาเก่ยวกับผู้สูงวัย จากข่าวท่นาเสนอ
�
ผ่านทางหน้าจอโทรทัศน์ มาปรับรูปแบบและนาเสนอผ่านทาง “ส่อ
�
ื
ใหม่” ต่างๆ ของไทยพีบีเอส
คุณยายกิมหล่น จินากุล บัณฑิตวัย 91 ปี จากจ.พะเยา
ั
บัณฑิตอายุมากท่สุดในการรับพระราชทานปริญญาบัตรของ มสธ.
ี
ประจาปี 2560 คุณยายกิมหล่น บอกว่า การเรียนหนังสือ คือความ
�
ั
ฝันต้งแต่เด็ก เมื่อมีโอกาส จึงต้องเรียนให้สาเร็จ โดยไม่คิดว่าเป็นเร่อง
ื
ั
�
ล�าบาก เพราะความรู้คือสิ่งส�าคัญของการพัฒนาตนเอง
เนื้อหาดังกล่าว ได้รับการดัดแปลงเพื่อน�าเสนอใหม่บนพื้นที่
สื่อใหม่ อาทิ บนเว็บไซต์ https://news.thaipbs.or.th ที่มีผู้เข้าชม
ข่าวชิ้นนี้ถึง 109,102 ครั้ง
148 เ องเ ่าค ท างา ส อสา า ไทยพีบีเอส