Page 170 - AgingSociety
P. 170
ี
ขณะท่ ร้อยละ 55.9 ระบุว่าเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิด
ื
�
ประโยชน์ ร้อยละ 70.6 ระบุว่าการร่วมรายการทาให้ได้รู้จักเพ่อนใหม่
และร้อยละ 79.4 เกิดความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ขณะที่การส�ารวจความเห็นผู้เข้าร่วมรายการ “เก๋ายกก๊วน”
พบว่า ร้อยละ 83.7 ระบุว่าได้ความรู้ ร้อยละ 79.6 ระบุว่าได้รับความ
ึ
สนุก/บันเทิง ร้อยละ 69.4 ระบุว่าสุขภาพดีข้น และร้อยละ 61.2 ระบ ุ
ว่าได้พักผ่อน
ี
ขณะท่กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 53.1 ระบุว่าเป็นการใช้เวลาว่าง
่
ั
่
้
่
�
้
ุ
้
้
ู
ใหเกิดประโยชน์ รอยละ 79.6 ระบวาทาใหได้รจกเพือนใหม และร้อย
ละ 77.6 เกิดความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ี
นอกจากน้ยังพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่เกิดความเข้าใจมาก
ื
ข้นในเร่องการเตรยมพร้อมเข้าสู่สังคมสูงวยหรือการดูแลผ้สูงอาย ุ
ี
ู
ั
ึ
มากข้น และเต็มใจท่จะดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวของตน ส่วนผู้สูง
ี
ึ
วัยก็เกิดการตระหนักรู้ในการดูแลตัวเอง 1
ี
ี
“ไทยพีบีเอสมีกลุ่มรายการท่เป็นตอบรับกับการเปล่ยนแปลง
ี
ื
�
ี
เข้าสู่สังคมสูงวัยท่ทาเสนอมาอย่างต่อเน่อง ทาให้กลุ่มเป้าหมายท่เป็น
�
ผู้สูงอายุเกิดความตระหนักได้รับความรู้ในระดับหน่ง ต่อจากน้คงจะ
ึ
ี
่
่
ี
�
�
มการประเมินผลการนาเสนอเน้อหาดานน้ตอไป โดยเฉพาะคาถามวา
้
ี
ื
ื
ี
�
ส่งท่เราทาไปน้นทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงเร่องทัศนคติของผู้สูงอาย ุ
ิ
ั
�
เองและคนรอบข้างอย่างไร นาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูง
�
อายุอย่างไร และเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างไร
บ้าง” รศ.ดร.วิลาสินี พิพิธกุล ผอ.ส.ส.ท. กล่าว
ี
ู
ิ
ื
1 สถาบันวชาการส่อสาธารณะ. สรุปผลการประเมินความคิดเห็นของผ้เข้าร่วมรายการท่มีต่อ
รายการ “คนสู้โรค” และรายการ “เก๋ายกก๊วน”. เอกสารโรเนียว.
สังคมสูงวัยกับความใส่ใจของไทยพีบีเอส 159