Page 34 - AgingSociety
P. 34
ั
้
ู
้
ั
ู
ี
้
ู
็
่
มองดวยอคต มตังแตผสงวยเปนปญหา ผูสงวยก็ไมควรจะออกไปไหน
้
่
ั
ิ
�
เพราะว่าอ่อนแอ เด๋ยวจะป่วย ควรจะอยู่กับบ้านไม่ต้องทาอะไร ซ่ง
ี
ึ
มันก็มีต้งแต่มองด้วยความหวังดีไปจนถึงทัศนคติเชิงลบหรืออคต ิ
ั
เพราะฉะน้นคิดว่ามันเป็นหน้าท่ของส่อทุกประเภทไม่ใช่แค่ส่อ
ั
ี
ื
ื
ี
สาธารณะท่จะต้องช่วยสร้างทัศนคติเชิงบวกให้กับคนในสังคมว่าจริงๆ
แล้วผู้สูงวัยก็เป็นพลังที่ดีในสังคมได้ ถ้าเราทั้งหลายมองเขาในแง่บวก
และก็ปรับทัศนคติในการมองในการอยู่ร่วมกันกับผู้สูงวัย”
ี
ื
ึ
“ตรงน้คิดว่าเป็นหน้าท่หน่งของเราในฐานะส่อสาธารณะ
ี
ื
แน่ๆ บทบาทเราคอปรับทัศนคตของคนในสังคมไทยให้อยู่ร่วมกบผู้
ั
ิ
ึ
สูงวัยได้อย่างเข้าใจ แล้วก็เป็นทัศนคติด้านบวกหรือเชิงสร้างสรรค์ซ่ง
ื
ี
ื
ี
เป็นหน้าท่ส่อโดยตรง อีกหน้าท่ของส่อกับสังคมสูงวัย คือการเข้าไป
ี
ื
หนุนเสริมกลุ่มคนท่ทางานในการขับเคล่อนเร่องน้อยู่แล้ว เอ้ออานวย
ื
�
ี
ื
�
เขาในการทางาน น่ก็เป็นบทบาทของสื่อสาธารณะ ถ้าเรารู้ว่ากลุ่ม
ี
�
�
�
ี
ี
ไหนกาลังท�าเร่องดี ๆ เรื่องท่มันจะทาให้เกิดเปล่ยนแปลงได้ เราม ี
ื
ื
ี
บทบาทท่จะเอ้ออานวยให้งานของเขาน้นส่งผลหรือสร้างผลกระทบ
ั
�
ิ
ได้ดีย่งขึ้น”
บทบาทของสื่อสาธารณะ จึงอยู่ที่การน�าเสนอสถานการณ์ที่
เป็นจริง รวบรวมข้อเสนอแนะจากผู้เกี่ยวข้อง นักวิชาการ คนท�างาน
ในพื้นที่ ส่งต่อข้อมูลนี้ไปถึงฝ่ายนโยบาย และผลักดันให้เกิดนโยบาย
ี
ื
เร่องสังคมสูงวัยจากภาครัฐท่เหมาะสม ถูกต้อง และเป็นประโยชน์กับ
ประชาชนอย่างแท้จริง
สังคมสูงวัยกับความใส่ใจของไทยพีบีเอส 23