Page 90 - GuidingLight
P. 90
ื
ึ
“ต้อย” อุรุพงศ์ รักษาสัตย์ ซ่งพ้นเพเป็นชาวจังหวัดเชียงราย และได้
ก�ากับภาพยนตร์ที่บริบทของเรื่องเกิดในจังหวัดบ้านเกิด บอกว่า ประเด็นที่เขา
�
ิ
ต้องการนาเสนอคือการอยู่อาศัยในถ่นฐานบ้านเกิด และสืบทอดวัฒนธรรม
ประเพณีของคนรุ่นก่อนหน้า คือรากฐานสาคัญของความภาคภูมิใจในตัวเอง
�
ี
และชุมชน อันเป็นส่งท่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ิ
พระราชทานแก่ราษฎร
“ถ้าเคยเห็นรูปที่ในหลวงประทับบนหลังม้า และมีชาวเขาช่วยกันจูง
ี
ี
ิ
ม้า น่นคือเหตุการณ์ท่ดอยผาหมี ซ่งเป็นส่งท่สร้างความภูมิใจให้กับประชาชน
ั
ึ
ิ
ี
ื
ี
ื
ี
ี
ื
ในพ้นท่ แต่ปัจจุบันสถานการณ์เปล่ยนแปลงไป ส่งท่ผมต้องการส่อ คือเร่องท่ดิน
ึ
สาธารณะซ่งชาวบ้านเคยใช้สอยกลายเป็นของนายทุนได้อย่างไร การครอบครอง
พื้นที่ได้เพียงเพราะมีเงิน มันท�าลายวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นอย่างไร”
อุรุพงศ์ บอกว่า ภาพยนตร์ส้นเร่องน้ เขาต้องการนาเสนอเน้อหาท ี ่
ื
ั
ื
ี
�
เก่ยวข้องกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยไม่มีพระบรม
ี
ฉายาลักษณ์ หรือพระบรมสาทิสลักษณ์ปรากฏอยู่แม้แต่น้อย แต่ต้องการให้ผู้
ั
ื
ื
ี
ิ
ชมได้ตีความส่งท่ทรงสร้างไว้ซ่งสะท้อนอยู่ตลอดท้งเร่อง โดยเฉพาะแนวคิดเร่อง
ึ
ั
ความพอเพียง ซ่งเขามองว่า เป็นสานึกท่จะนาสังคมไทยให้เป็นสุขอย่างย่งยืน
�
ี
ึ
�
เพราะเป็นการกากับความต้องการของทุกคนไม่ให้เกินเลยขอบเขตจนไป
�
เบียดเบียนคนอื่นๆ โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่กฎหมายไม่สามารถบังคับใช้ได้
มีประสิทธิภาพอย่างที่ควรจะเป็น
80 เรื่องเล่าคนท�างานสื่อสาธารณะ “ไทยพีบีเอส”