Page 16 - SolutionsCivicJournalism
P. 16
งานสื่อสารทางออกให้สังคม มีจุดเริ่มต้นในสหรัฐอเมริกาใน
ั
ื
ื
ช่วงปลายทศวรรษ 1990 เม่อส่อมวลชนในขณะน้นถูกต้งคาถามถึง
�
ั
�
ี
ี
บทบาทในการทาหน้าท่เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเก่ยวกับสถานการณ์
ปัญหาต่างๆ ว่าน่าจะไม่เพียงพอ และมีข้อเสนอว่า ส่อมวลชนในฐานะ
ื
�
ี
ึ
ท่เป็นหน่งในองคาพยพซ่งมีความสาคัญ ควรมีความรับผิดชอบใน
ึ
�
ี
การนาเสนอแนวทางท่จะเป็นทางออกสาหรับปัญหาน้นๆ ให้กับสังคม
�
ั
ด้วย ภารกิจดังกล่าวจะกระทาได้โดยการแสวงหาตัวอย่าง หรือ
�
แนวทางการแก้ไขปัญหา ที่ผู้ฟังผู้ชมจะสามารถน�าไปปรับใช้ขยายผล
เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาได้ในอนาคต
ี
ี
ท้งน้ ตัวอย่างหรือแนวทางการแก้ไขปัญหา ท่ส่อควรเสาะหา
ั
ื
�
�
มานาเสนอน้น ไม่จาเป็นต้องเป็นคาตอบท่เบ็ดเสร็จตายตัว แต่อาจ
ี
�
ั
ี
เป็นเร่องราวท่น่าสนใจ โดยมีหลักฐานท่แสดงความสาเร็จ รวมท้งม ี
ี
ั
ื
�
ข้อคิดในแง่มุมของจุดเด่นและจุดด้อยของแต่ละแนวทาง เพื่อให้ผู้ชม
ผู้ฟังสามารถนามาเปรียบเทียบให้เกิดการเรียนรู้ และมองเห็นความ
�
เป็นไปได้ในการจัดการกับปัญหาที่ก�าลังเผชิญอยู่
ี
ื
�
ิ
ค�าถามท่เป็นต้นกาเนิดของงานส่อสารทางออกให้สังคมเร่ม
ื
ื
ึ
ต้นข้นในสหรัฐฯ แต่การขับเคล่อนงานส่อสารทางออกให้สังคมกลับ
�
ได้รับการริเริ่มขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมโดยองค์กรเอกชนไม่แสวงกาไรใน
ั
ื
ประเทศฝร่งเศส เม่อปี 2003 องค์กรช่อ Reporters of Hope ได้
ื
ื
สร้างเครือข่ายนักข่าว เพ่อขยายการทางานภายใต้แนวคิดงานส่อสาร
�
ื
สื่อสาธารณะกับแนวทาง Solutions Civic Journalism 5