Page 18 - คู่มือกฎหมายในงานข่าวและรายงาน ThaiPBS 1
P. 18

ื
                                           ื
             พาโรโบล่า ไมโครโฟน เคร่องดักฟังโทรศัพท์ เคร่องบันทึกเสียง กล้องถ่ายรูป
                    ึ
                                          ี
             ขนาดเล็กซ่งฝังในอุปกรณ์ ต่าง ๆ กล้องถ่ายรูปท่ไม่ต้องใช้แฟลช คอมพิวเตอร์
                                                 ำ
             ตกแต่งหรือตัดต่อภาพ  ฯลฯ  ยังเอื้อให้สื่อมวลชนรุกลาสิทธิของบุคคล
                                                 ้
             ที่ตกเป็นข่าวได้ง่ายขึ้น

                   นอกจากสิทธิส่วนบุคคลและข้อพิจารณาสำาหรับ “บุคคลสาธารณะ”
             ดังกล่าวแล้ว ข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ฐานะการเงิน การศึกษา ประวัติสุขภาพ
             ประวัติการทำางาน ประวัติอาชญากรรม ก็นับเป็นสิทธิส่วนบุคคล ที่ได้รับ
             การคุ้มครองโดยกฎหมายด้วย การเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้โดยไม่ชอบ ถือเป็น
             ความผิด กรณีที่เข้าถึงข้อมูลเหล่านี้ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ อาจมีความผิด
             ตามพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ด้วย

                   การเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อห้ามเด็ดขาด แม้จะอ้างว่า
             เป็นการเข้าถึงเพื่อป้องกันส่วนได้เสียแห่งตน เช่น นายจ้างมีความสงสัย
             ในพฤติกรรมของลูกจ้าง จึงขอให้สำานักงานตำารวจแห่งชาติ ตรวจสอบ
             ประวัติอาชญากรรม เช่นนี้ไม่สามารถทำาได้




                                   27
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23