Page 41 - คู่มือกฎหมายในงานข่าวและรายงาน ThaiPBS 1
P. 41
กฎหมายในงานข่าวและรายการ
“ข้อกฎหมาย เรือง ยิ่งจริงยิ่งผิด
่
ในกรณีหมิ่นประมาท ถ้าผู้ถูกหาว่ากระท�าความผิด
พสูจน์ได้ว่า ข้อทีหาว่าเป็นหมิ่นประมาทนั้นเป็นความจริง
่
ิ
ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ”
บทบัญญัติข้อน้ หมายถึง การท่ผู้กระทำาพิสูจน์ได้ว่า ข้อท่หาว่า
ี
ี
ี
เป็นหมิ่นประมาทนั้นเป็นความจริง ซึ่งก็ควรจะเป็นความจริงที่เป็นผล
ประโยชน์สาธารณะ เช่น การพิสูจน์กรณีทุจริต คอรัปช่นต่างๆ แต่
ั
กฎหมายไม่ให้พิสูจน์ หากเป็นการพิสูจน์ในเร่องท่เป็นส่วนตัว และไม่เป็น
ี
ื
ื
ประโยชน์ต่อประชาชน เช่น การพิสูจน์เร่องชู้สาว ถึงแม้พิสูจน์ความจริงได้
ิ
ิ
ผู้กระทำาก็ยังต้องรับโทษ ตามหลักการสำาคัญท่กล่าวกันว่า “ย่งจริงย่งผิด”
ี
ตัวอย่างที่ ๑ นายชวน หลีกภัย ครั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ฟ้อง
หนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่ง ที่ตีพิมพ์ข่าวมีข้อความว่า “นายชวน เอาลูกไม่
เอาแม่” ศาลวินิจฉัยว่า ข้อความที่หนังสือพิมพ์ตีพิมพ์เป็นเรื่องส่วนตัว
ไม่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ พิพากษาลงโทษจำาเลย
ี
ตัวอย่างท่ ๒ ส่อมวลชนเสนอข่าวและภาพ นักการเมืองท้องถ่น
ิ
ื
ึ
ี
ึ
คนหน่ง น่งอยู่กับเด็กหญิง ในสถานท่แห่งหน่ง ซ่งดูเหมือนเป็นการทำาพิธ ี
ึ
ั
สมรสตามประเพณี มีการผูกข้อไม้ข้อมือกัน ต่อมานักการเมืองคน
ื
ดังกล่าวฟ้องส่อมวลชน ฐานหม่นประมาท ส่อมวลชนจะพิสูจน์ความจริง
ิ
ื
ว่านักการเมืองคนนั้น ทำาการสมรสกับเด็กผู้หญิงจริง เป็นเรื่องที่แม้จะ
พิสูจน์ได้ สื่อมวลชนก็ไม่พ้นความรับผิด เพราะเป็นการพิสูจน์ในเรื่อง
ส่วนตัว และไม่เป็นประโยชน์ต่อประชาชน
50