Page 25 - ZeroWaste
P. 25
2.ทุ่มเงินหนุนชุมชนจัดการขยะต้นทาง
ในช่วงปี 2553-2555 เทศบาลฯมีโครงการรณรงค์ให้มีการ
�
ก�าจัดขยะภายในชุมชน โดยตั้งงบประมาณ 5 ล้านบาท สาหรับให้ชุมชน
หรือหน่วยงานเสนอโครงการจัดการขยะต้นทาง โครงการละ 2 แสน
�
บาท หรือ 2.5 แสนบาท แต่วิธีการดังกล่าวไม่ประสบผลสาเร็จเท่าท ่ ี
ควร เมื่อหมดงบประมาณ มีเพียงชุมชนส่วนน้อยที่สานต่อโครงการ
“บ้างรับงบฯ แล้วก็หายเงียบไป สมมติสมัครมา 20 ชุมชน
ท�าจริง 1-2 ชุมชน ไม่มีมาตรการบังคับ หลังจากนั้นเทศบาลฯ ก็ไม่มี
งบให้” ธิติพันธ์ จันทร์ทอง สมาชิกสภาเทศบาลฯ กล่าว
�
ต่อมาเทศบาลฯ จึงปรับแนวทางการดาเนินงาน เน้นเฉพาะ
ี
ี
่
่
ี
็
ี
ั
ื
ั
้
พนททมความเข้มแขง มีความตงใจ หรอมการจดการขยะด้วยตนเอง
้
ื
บ้างแล้ว เช่น พื้นที่บางมะขาม โดยหวังจะให้เป็นพื้นที่ต้นแบบ
�
ิ
ั
ประมาณปี 2556 เร่มทาโครงการ “ถนนปลอดถง” คือไม่
วางถังขยะบนถนน แต่กาหนดเวลารถขยะมาจัดเก็บ โดยชาวบ้าน/สถาน
�
ประกอบการ มีถังขยะของตนเองใส่ขยะมาวางไว้หน้าบ้าน หรือจุดต่างๆ
ี
ตามเวลาท่เทศบาลแจ้งไว้ เม่อรถขยะของเทศบาลฯ มาจัดเก็บแล้ว ชาว
ื
ึ
บ้านก็เก็บถังขยะของตนเองกลับเข้าบ้าน ซ่งเป็นเพียงการจัดระเบียบ
การทิ้งขยะ
3.รีไซเคิลด้วยเครือข่ายซาเล้ง
ทดูเหมือนจะได้ผลอย่างชดเจนกคอ การแยกขยะทนากลับ
�
่
ี
่
ั
ี
ื
็
ไปรีไซเคิลได้ โดยส่งเสริมและจัดระบบเครือข่ายกลุ่มอาชีพรับซ้อของ
ื
เมืองปลอดขยะ กรณีโครงการสมุยสะอาด 15