Page 38 - Media Disruption The Series
P. 38

38  Media Disruption the Series

                                 ่
                      4)  การเปล�ยนแปลง (Change)
                             ิ
                          ภมทัศนสือมักได้รับผลกระทบและเกิดการเปลยนแปลง
                           ู
                                 ์
                                                                ี
                                                                ่
                                  ่
                                                                       ้
                      จากตัวแปรใหมทีแทรกซ้อนในระบบ  รวมถึงวัฏฏะ  การเกิดขึน
                                    ่
                                  ่
                                                                   ่
                        ่
                      เสือมสลาย การปรับตัว การปฏรูปของระบบนิเวศ โดยทีความ
                                                ิ
                                                              ้
                         ่
                      เปลยนแปลงอาจเกิดขึนจากปัจจัยกระบวนการทเกิดขึน ท�งภายใน
                                       ้
                                                          ่
                         ี
                                                          ี
                                                                  ั
                                                  ู
                                                 ้
                                                        ่
                                                   ิ
                                                            ่
                      และ/หรือภายนอกซงมีอิทธิพลท�าใหภมทัศน์สือเปลยนแปลงไปตาม
                                     ่
                                     ึ
                                                            ี
                      ระยะเวลายุคสมัยและพัฒนาการของระบบ
                          ดังน�นจากกรอบแนวคิดเบืองต้นทได้กล่าวมา การพิจารณา
                                                    ี
                                                    ่
                                              ้
                             ั
                      เหตุการณส�าคัญในรอบ 2 ทศวรรษ (ค.ศ. 2000 - 2020) จะน�า
                              ์
                         ่
                                                 ้
                      ไปสูการพัฒนากระบวนการเรียนรูและเสริมสร้างความเข้าใจต่อ
                                                               1
                                  ิ
                                ู
                      วถีทรรศน์ “ภมทัศน์” ที่ปรับเปลี่ยนใน “ระบบนิเวศสื่อ”  โดยอาศัย
                       ิ
                                                                   ิ
                      กระบวนการทบทวนทางวิชาการและการประยุกต์รูปแบบวิธีวจัยเชิง
                          ั
                      ประวติศาสตร์ร่วมสมัย พิจารณาถึงสถานการณ์และเหตุการณ์ส�าคัญ
                      ของอุตสาหกรรมการสื่อสาร ณ ช่วงเวลานั�นๆ ด้วยวธีการจัดระบบ
                                                             ิ
                                                                ์
                                                            ิ
                                                           ู
                      เรียบเรียงเป็นล�าดับ เพื่อสร้างความเข้าใจต่อ “ภมทัศนสื่อ” อย่าง
                      เปนระบบ จากอดต ปจจบัน สู่แนวโน้มในอนาคต ฉายภาพรูปธรรม
                        ็
                                   ี
                                      ั
                                        ุ
                      ของการเกิดขึน อบติใหม่ เติบโต ชะงักงัน และถดถอยตาม “วัฏจักร
                                ้
                                   ุ
                                    ั
                               2
                      นวัตกรรม”   ประกอบกับการทบทวนช่วงเวลาและสภาพการณ  ์
                      1   “ระบบนิเวศสื่อ” : ระบบความสัมพันธ์เชื่อมโยงขององค์ประกอบในกิจการ
                                          ่
                                                   ่
                                                   ื
                         ่
                        สือสารและอุตสาหกรรมสือ  การขับเคลอนภายใต้สภาวะแวดล้อมและ
                                                              ่
                        สภาพการณ์หนงในช่วงระยะเวลาหนง การศึกษาระบบนิเวศสือจึงเป็นศาสตร ์
                                               ่
                                  ่
                                  ึ
                                               ึ
                                                                    ื
                        และองค์ความรู้ว่าด้วยการศึกษาด้านความสัมพันธ์ระหว่างกัน ความเชอมโยง
                                                                    ่
                        เกียวของกน ตวแปรและปจจยในแตละภาคสวนและองคประกอบของระบบ
                          ่
                                                     ่
                                                            ์
                                  ั
                                           ั
                                         ั
                            ้
                               ั
                                               ่
                        ที่มอิทธิพลต่อกันและกัน ตลอดจนพลวัตที่ก่อให้เกิดขึ้น การคงอยู่ พัฒนา
                          ี
                        ถดถอย ยติ และ/หรือเปลี่ยนแปลงปรับเปลี่ยนไปในระบบกิจการสื่อสาร
                               ุ
                                ั
                            ั
                      2   “วฏจกรนวตกรรม” เพมเตมไดจาก แนวคดของนกเศรษฐอตสาหกรรม
                                        ิ
                                        ่
                                             ้
                                          ิ
                          ั
                                                          ั
                                                     ิ
                                                                ุ
                        “โจเซฟ ชุมปีเตอร์” (Joseph Schumpeter) ใน The Theory of Economic
                        Development (1934) และทฤษฎีการแพร่กระจายนวัตกรรม (Diffusion of
                        Innovation Theory (DOI)) ของ “เอเวอเร็ตต์ เอ็ม โรเจอร์ส” (Everett M.
                        Rogers (1962))
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43