Page 39 - Media Disruption The Series
P. 39

39

                                      ่
                                              ่
            ่
           ทีนวัตกรรมสือใหม่และเทคโนโลยีสือสารเข้าสูกระบวนการยอมรับนวัตกรรมของสังคม
                     ่
            ่
                                                                            3
            ึ
           ซงกระบวนการทางนวัตกรรมดังกล่าวได้สร้างสภาวะ “การท�าลายล้างเชิงสร้างสรรค์”
           (Creative Destruction) และก่อให้เกิดผลกระทบจาก “นวัตกรรมพลิกผัน”  (Disruptive
                                                                  4
           Innovation) ในกิจการภาคธุรกิจสื่อสาร
               ทั้งนี้การศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับระบบนิเวศสื่อและภูมิทัศน์สื่อมิอาจ
                               �
           ตัดภาพบางส่วน ละเลยองค์ประกอบ หรือหยิบยกเพียงปัจจัยทางนวัตกรรมน�ามาสร้างชุด
            �
           คาอธิบายได้ จะต้องพิจารณาอย่างรอบด้านถึงองค์ประกอบทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
           วัฒนธรรม พฤติกรรมศาสตร์ และเหตุปัจจัยให้ครบถ้วน เนื่องจากระบบนิเวศสื่อและ
                                  ื
                                                                     ึ
           ภูมิทัศน์สื่อมีวิวัฒนาการและเคล่อนตัวอยู่เสมอตามเหตุปัจจัยและสภาพการณ์ ซ่งการย้อน
           ทบทวนเหตุการณ์โดยจัดล�าดับออกเป็นไทม์ไลน์ (Timeline) แสดงถึงความเปลี่ยนแปลง
           และปรับเปลี่ยนในรอบสองทศวรรษ (ค.ศ. 2000-2020) ของกิจการสื่อสาร เป็นวิธีหนึ่ง
           เพื่อค้นคว้าและแสวงหาค�าอธิบาย “ภูมิทัศน์สื่อ” ในช่วงเวลา 20 ปี สามารถล�าดับและ
           น�าเสนอเพอฉายภาพทัศน์สูการวิเคราะห์วิพากษ์ถึงพัฒนาการของภูมทัศน์และระบบนิเวศ
                               ่
                   ่
                                                              ิ
                   ื
           สื่อตามช่วงเวลาที่ส�าคัญได้อย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม ดังล�าดับต่อไปนี้






           3   “การท�าลายล้างเชิงสร้างสรรค์” (Creative Destruction) : การพัฒนานวัตกรรม (สื่อ) ใหม่ อาทิ
                   ้
             การเกิดขึนของแพลตฟอร์มสือใหม่ นวัตกรรมใหม่เข้าแทนที่ท�าลายสิงเดิมระบบเดิมที่มีคุณสมบัติ
                                                          ่
                                ่
                                         ่
                                                       ิ
                                                       ่
                                                                   ่
             จากัดหรือด้อยกว่า ทดแทนด้วยนวัตกรรม (สือ) ใหม่ที่พัฒนาและเพมเติมคุณสมบัตทีขาดหายไปของ
              �
                                                                  ิ
             นวัตกรรมและเทคโนโลยี (สื่อ) เดิม ศึกษาแนวคิด “การท�าลายล้างเชิงสร้างสรรค์” เพิ่มเติมได้จาก
             “โจเซฟ ชุมปีเตอร์” (Joseph Schumpeter) ใน The Theory of Economic Development (1934)
             และ Joseph A. Schumpeter. Capitalism, Socialism and Democracy (New York : Harper,
             1975) [orig. pub. 1942]
                                                        ิ
                                                                         ิ
                                                    ่
                                                                           ั
               ั
                      ิ
                                            ุ
                                                                 ่
                                                          ั
           4   “นวตกรรมพลกผน” (Disruptive Innovation) : อตสาหกรรมสือเผชญกบความเปลยนแปลง พลกผน
                                                                 ี
                        ั
                              ิ
                  ิ
             และปฏรูปด้วยนวัตกรรมดจทัล (Digital Disruption) การเกิดขึ้นของแพลตฟอร์มสื่อใหม่ เครือข่าย
                               ิ
                                       ี
                                        ้
                            ี
             สังคมออนไลน์ การเปลยนผ่านเทคโนโลยพนฐานและวิศวกรรมเชิงโครงสร้างทั�งระบบจากแอนะล็อก
                            ่
                                        ื
                ิ
                                   ี
                                    ิ
               ิ
             สู่ดจทัล (ภาพถ่าย ภาพยนตร์ วดทัศน์ และกิจการแพร่ภาพและกระจายเสียง : วิทยุ โทรทัศน์)
                                         ี
                                         ่
                                                             ั
             นวัตกรรมพลิกผันส่งผลกระทบและความเปลยนแปลงต่อภาคธุรกิจสือเป็นท�งวิกฤติและโอกาส ศึกษา
                                                        ่
                                                                   ั
                                                                      ิ
                                                       ุ
              �
                                                 ี
                                                ่
             คาอธบาย แนวคด ผลกระทบของ “นวตกรรมพลกผน” ทีมตอภาคธรกจไดจาก “เคลยตน ครสเตนเซน”
                                                  ่
                                    ั
                                           ิ
                                                        ิ
                                                           ้
                       ิ
                                             ั
                                                                  ์
                ิ
             (Clayton Christensen) ใน The Innovator’s Dilemma (1997)
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44