Page 43 - AgingSociety
P. 43
“หลายๆ ครอบครัว เราจะเห็นว่าเมื่อพ่อแม่เราแก่ตัวขึ้นเรา
จะบอกให้เขาอยู่เฉยๆ หรือเลี้ยงหลาน ท�างานบ้าน ทั้งที่บางทีผู้สูงวัย
�
บางกลุ่มยังมีศักยภาพอยู่ แม้กาลังอาจจะถดถอยไปตามสภาพร่างกาย
ี
แต่แนวคิดของผู้สูงวัยจานวนมากก็ยังดีอยู่ ในประเด็นน้ควรปรับ
�
ทัศนคติของคนในสังคมให้มองผู้สูงวัยเสียใหม่ว่าท่านเหล่าน้ยังมีคุณค่า
ี
ยังท�าประโยชน์ให้กับครอบครัว ให้กับสังคมได้อีกมากมาย”
ี
ื
ิ
อีกเร่องท่ต้องให้ความสนใจคือการทอดท้งผ้สูงวยให้อยู่ตาม
ั
ู
ื
ล�าพังเน่องจากลูกหลานต้องออกไปทางานนอกบ้าน หรือกรณีผู้สูงวัย
�
ที่อยู่ต่างจังหวัดแล้วลูกหลานต้องมาท�างานในกรุงเทพ
“วิธีคิดแบบเดิมที่ลูกทิ้งพ่อแม่เข้ามาท�างานแล้วส่งแต่เงินให้
อย่างเดียวอาจจะเป็นเร่องท่ควรได้รับการแก้ไข ในฐานะท่เป็นส่อก ็
ื
ื
ี
ี
�
ต้องนาเสนอแนวทางในการแก้ปัญหา โดยการยกกรณีศึกษามาเป็น
ื
ึ
ี
ิ
ตัวอย่างเพ่อแสดงถึงผลกระทบท่อาจจะเกิดข้นจากการละท้งพ่อแม่
หรือผู้สูงวัย ต้องช่วยกันปรับทัศนคติ ส่วนของเรื่องสวัสดิภาพ เร่อง
ื
กฎหมาย ก็เป็นอีกเร่องหน่งท่ต้องผลักดันในทางโครงสร้างเชิง
ื
ึ
ี
นโยบาย”
“อย่างเรื่องเงินสวัสดิการผู้สูงวัย เราก็พยายามสะท้อนให้รัฐ
เห็นว่าต้องอุดหนุนให้มากกว่านี้ หรือเรื่องบ้านพักคนชรา เรื่องสถาน
ู
็
ั
ื
ู
ั
่
ทดูแลผ้สูงวยทยังขาด คนทไม่มีครอบครวหรอลกหลานกควรจะม ี
ี
่
ี
ี
่
ึ
สถานท่ดูแลเขาในช่วงสุดท้ายของชีวิต ซ่งรัฐก็ต้องเข้ามาดูแล และก ็
ี
�
ต้องใช้งบประมาณ เราจึงพยายามนาเสนอข้อมูลให้ทางกระทรวงและ
รัฐจัดสรรงบประมาณในการดูแลผู้สูงวัยว่าควรจะมีประสิทธิภาพ
มากกว่านี้ หรือระบบประกันสังคมที่แต่ก่อนอาจจะไม่ครอบคลุมการ
ี
ี
รักษาโรคมะเร็งแต่เด๋ยวน้รักษาได้แล้ว แต่ก็น่าจะขยายต่อไปให้
32 เ องเ ่าค ท างา ส อสา า ไทยพีบีเอส