Page 46 - AgingSociety
P. 46
�
่
ื
ิ
ั
เพอให้ทุกคนได้เห็นส่งน้น นาเสนออย่างไรให้สังคมมองผู้สูงวัยเป็นคน
ที่มีคุณภาพของสังคม”
ั
ื
“เน้อหาของรายการเราก็จะไปในแนวทางน้น เพียงแต่จะเลือก
น�าเสนอออกมาแบบไหน เราก็พยายามออกไปค้นหาผู้สูงวัยท่ม ี
ี
�
ศักยภาพ มีคุณภาพ ยังทาตัวเป็นประโยชน์ต่อสังคมอยู่ จากน้นเราก ็
ั
�
�
ื
เข้าไปถ่ายทารายการ ไปสัมภาษณ์ท่านเหล่าน้น นาเสนอเร่องราวของ
ั
ี
ื
ื
ท่านผ่านทางส่อโทรทัศน์และช่องทางต่างๆ ท่เรามีอยู่ เพ่อให้ผู้สูงวัย
คนอ่นๆ เห็นว่าวัยอย่างเราก็ยังมีคุณค่าอยู่นะ พยายามหาช่องทางให้
ื
�
ผู้สูงวัยได้เห็นว่าคุณจะทาตัวอย่างไรให้ตัวเองมีคุณค่า ออกไปเท่ยว ออก
ี
ิ
ี
้
็
ี
ู
ไปเดนทาง ไปทากจกรรม ไปใชชวต รปแบบรายการกจะมหลากหลาย
�
ิ
ิ
แต่โดยแนวคิดก็อันเดียวกันนั้นแหละ คือให้ทุกคนได้เห็นว่าผู้สูงวัยยัง
เป็นวัยที่มีคุณภาพ เรียกว่าแก่อย่างมีคุณภาพ”
ที่ส�าคัญไม่น้อยไปกว่ากันคือการสร้างทัศนคติใหม่เกี่ยวกับผู้
ี
สูงอายุ สังคมไทยเคยมองว่าผู้สูงอายุคือวัยท่ชีพจรเต้นช้า เป็นเวลา
ของการพักผ่อนอยู่กับบ้าน เลี้ยงหลาน ปลูกต้นไม้ เพียงแค่นั้น แต่ใน
ความเป็นจริงผู้สูงอายุเหล่าน้นยังมีศักยภาพในการสร้างสรรค์ส่งต่างๆ
ั
ิ
อีกมาก
ผู้สูงอายุจึงไม่ใช่ “ภาระ” แต่เป็น “พลัง” หากคนรอบข้างมี
ความเข้าใจที่ถูกต้องและให้พื้นที่ในการแสดงออก
“ประชาชนเขาให้ภาษีเรา เพ่อให้เรามาทาเร่องพวกน้ เพื่อท ี ่
ื
ี
�
ื
จะให้ใช้สื่อเป็นเครื่องมือในการสร้างสังคมให้มีคุณภาพ เขาให้เงินมา
ท�าตรงน้น เพราะฉะน้น เราก็ต้องทาให้ดีท่สุด ไทยพีบีเอสเองก็ต้อง
�
ี
ั
ั
รวมกันและร่วมมือกันทุกคนไม่ว่าจะระดับไหนในองค์กรนี้...”
สังคมสูงวัยกับความใส่ใจของไทยพีบีเอส 35