Page 34 - DEBT
P. 34
ี
ั
ิ
ท้งหลักการและประสบการณ์เป็นส่งท่สร้างการรับรู้
เรียนรู้ และหล่อหลอมให้ “คุณค่าสื่อสาธารณะ” เป็นสิ่งที่อยู่
ในวิธีคิดและวิธีท�างานของคนไทยพีบีเอส
�
“ผมทางานต้งแต่เป็นไอทีวี สมัยก่อนเป็นยุคปฏิวัติการ
ั
ท�าข่าว ต้องฮาร์ดคอร์ เน้นการเปิดโปง แฉเรื่องรับส่วย ดูแล้ว
สะใจ สังคมเราเป็นสังคมสะใจ ไอทีวีไปไหนใครก็กลัว พอ
เปลี่ยนเป็นไทยพีบีเอส ตอนแรกยอมรับว่า ผมไม่เข้าใจ ไม่ใช่
แบบเดิม แล้วจะยังไง คนดูจะสนใจหรือ”
คริษ อรรคราช หัวหน้าโปรดิวเซอร์ ฝ่ายรายการ
�
ประเด็นทางสังคม สานักรายการ ยอมรับว่าเขาใช้เวลาเกือบ
3 ปี เพื่อท�าความเข้าใจ “สื่อสาธารณะ” ขององค์กรที่ตนเอง
ื
่
สังกัดอยู่ โดยพยายามศึกษาแนวทางการท�างานสอสาธารณะ
ของต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็น BBC ของประเทศอังกฤษ PBS
ของประเทศสหรัฐอเมริกา หรือ NHK ของประเทศญ่ป่น เขา
ี
ุ
พบว่า แม้แต่สื่อสาธารณะก็มีความหลากหลาย และเป็นความ
แตกต่างที่น่าสนใจ
“ชอบ NHK ดูแล้วไม่มีเร่องลบเลย ใสมาก ดีไซน์ภาพ
ื
เฟรม น่งสงบ อารมณ์ไปกับตัวรายการ มีเสน่ห์มาก BBC นา
ิ
�
เสนอเรียบ แต่รอบด้าน PBS เน้นให้ความเป็นมา ความส�าเร็จ
ไทยพีบีเอส ขับเคลื่อนสังคมแก้ปัญหา “หนี้ที่ไม่เป็นธรรม” 23