Page 60 - GuidingLight
P. 60
�
ี
การรับรู้ต่อสังคม และสร้างผลกระทบได้ไม่มากนัก จุดน้เอง ท่นามาสู่การคิด
ี
ื
ี
ประเด็นร่วมกันของผู้ท่เข้าร่วมในเวที เพ่อเป็นการทดลองสร้างรูปแบบการ
�
ี
ื
ี
ทางานร่วมกันของทุกส่วนงานในเน้อหาท่ทุกคนช่วยกันเลือกสรรประเด็นท่ม ี
ความส�าคัญ สามารถสะท้อนการท�างานเชิงยุทธศาสตร์ของไทยพีบีเอส โดยให้
ี
ื
่
ู
ี
่
่
ื
ั
่
ี
่
ิ
็
แตละคนเลอกอยในทมทตนเองมความสนใจเปนพเศษ เพอรวมกนวางแผนการ
ท�างานในช่วงระยะเวลา 6 เดือน ตลอดครึ่งหลังของปี พ.ศ.2560
ื
3 ประเด็นหลักท่เวทีช่วยกันนาเสนอ และได้รับเลือกให้เป็นเวทีเพ่อ
ี
�
ทดลองการทางานด้วยกัน ได้แก่ 1) แสงจากพ่อ 2) เมืองปลอดขยะ และ
�
ื
3) ความอยุติธรรมในกระบวนการยุติธรรม ด้วยกรณีศึกษาเร่องหน้ท่ไม่เป็นธรรม
ี
ี
�
�
ณาตยา แวววีรคุปต์ ผู้ช่วยผู้อานวยการสานักข่าว เล่าถึงบรรยากาศ
ื
ี
ในช่วงของการพูดคุยเพ่อช่วยกันคัดเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ว่า ท่ประชุมใช้
�
ี
เวลาถกเถียงกันพอสมควร เน่องจากประเด็นท่ได้รับการนาเสนอ ไม่ตรงกับ
ื
8 ประเด็นหลัก (Core agenda) ซ่งได้รับการกาหนดในแผนบริหารกิจการปี
�
ึ
พ.ศ.2559-2561 และในท่สุด ทุกคนเลือกท่จะกาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ในส่ง ิ
�
ี
ี
ี
ั
ี
ื
ี
ท่เช่อม่นว่า เป็นความคาดหวังของสังคมไทยท่จะได้เห็นในการปฏิบัติหน้าท่ของ
ไทยพีบีเอสให้สมกับการเป็นสื่อสาธารณะเพียงแห่งเดียวของประเทศ
ี
�
�
“ส่งท่สังคมอยากเห็น หากเราไม่ทา ช่องไหนจะทา เราทาได้เพราะ
�
ิ
ไม่ติดข้อจ�ากัดเรื่องโฆษณา ฉะนั้น ทุกคนเห็นตรงกันว่าควรจะเริ่มด้วยประเด็น
ี
ท่สามารถตอบแทนใจคนท้งประเทศได้ ด้วยบทบาทหน้าท่และศักยภาพท่เราม ี
ั
ี
ี
อยู่ เชื่อว่าจะสร้างให้เกิดผลของการท�างานที่สร้างความเปลี่ยนแปลงในทิศทาง
ี
ท่เป็นประโยชน์แก่สังคมได้ดีท่สุด” สมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้จัดการฝ่ายรายการ
ี
ประเด็นทางสังคม ส�านักรายการ กล่าวเสริม
50 เรื่องเล่าคนท�างานสื่อสาธารณะ “ไทยพีบีเอส”