Page 147 - SolutionsCivicJournalism
P. 147
• ต้องออกแบบให้มีการเคลื่อนไหวแบบแอคติวิสต์หรือไม่
ั
ลักษณะน้นเป็น Advocacy Journalism แต่ Civic
Journalism คือนักข่าวต้องพยายามสร้างการมีส่วนร่วม ขอยก
ตัวอย่างสมัยอาจารย์เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง ท�ารายการ “มองต่างมุม” นั่น
ี
ี
คือรูปแบบท่ใกล้เคียงกับ Civic Journalism ท่สุด เวลาท่อาจารย์เจิม
ี
�
ิ
ศักด์จะทาประเด็นใดก็ตาม อาจารย์จะลงพ้นท่ แล้วเชิญชาวบ้าน หรือ
ี
ื
ั
ี
คนท่มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ บางคร้งเป็นภาคเอกชน ภาครัฐ ชาวบ้าน
ให้ทุกภาคส่วนมาคุยกัน และพยายามวิเคราะห์ปัญหาร่วมกัน
จากตรงน้เราจะเห็นว่ากระบวนการมีส่วนร่วมเกิดข้นแล้ว
ึ
ี
ี
�
แทนท่ประชาชนจะมองแค่ว่า ถึงเวลาโดนกระทาก็ต้องออกมาประท้วง
ั
หรือภาครัฐรอจนกระท่งเกิดเร่องแล้วจึงจะออกมาตรการช่วยเหลือ
ื
ึ
ภาคเอกชนค่อยชดเชย แต่เริ่มจากการมองปัญหาร่วมกัน ซ่งต้องอาศัย
การถกเถียงอภิปราย
สิ่งส�าคัญของ Civic Journalism คือการมีส่วนร่วม ความ
ึ
ผูกพันกับประเด็นสาธารณะ มีการสนทนา ถกเถียงอภิปรายกัน ซ่ง
�
ื
เห็นว่าไทยพีบีเอสพยายามทา อย่างรายการ “เถียงให้รู้เร่อง” หรือ
ั
รายการสถานีประชาชน เพราะฉะน้น Civic Journalism คือการสร้าง
Civic Mind สร้าง Civic Participation, Civic Engagement แต่ว่า
�
คนที่ท�าต้องเป็นนักข่าวมืออาชีพ องค์กรข่าวมืออาชีพ ท่มีสานึกถึง
ี
136 เรื่องเล่าคนท�างานสื่อสาธารณะ “ไทยพีบีเอส”