Page 151 - SolutionsCivicJournalism
P. 151
ี
ตนเองเข้าไปเก่ยวข้อง ในทางปฏิบัติ ถ้ามองเป็นวัตถุวิสัยจริงๆ อาจ
ี
กลายเป็นการขาดความผูกพันหรือรับผิดชอบต่อสังคม จึงเป็นท่มา
ื
�
�
ของ Advocacy เพ่อตอบโต้กับแนวคิดว่า นักข่าวไม่จาเป็นต้องทางาน
ด้วยวัตถุวิสัยขนาดน้น แต่สามารถจุดประกาย หรือปลุกกระแสในบาง
ั
ี
็
ประเดน ท่เห็นว่าสังคมสมควรรับรู้และควรจะมีส่วนร่วม แต่ต่างจาก
ี
ิ
Solutions และ Civic ในแง่ทว่า Advocacy คอเน้นการทาให้เกดกระแส
ื
่
�
ยกตัวอย่างในช่วงการเคลื่อนไหวทางการเมืองของพันธมิตร
ี
ประชาชนเพ่อประชาธิปไตย ขณะท่หลายส่อแค่นาเสนอ แต่
ื
�
ื
ื
�
ื
หนังสือพิมพ์ผู้จัดการจุดกระแสเร่องการใช้อานาจการเมืองเอ้อ
ประโยชน์ทางธุรกิจ ซ่งจุดติด การทางานในลักษณะดังกล่าวมองได้ว่า
�
ึ
เป็นสื่อแบบ Advocacy
ื
ี
สิ่งส�าคัญท่สุดของของหลักการส่อสารมวลชนคือ ข้อเท็จจริงท ี ่
ถูกต้องครบถ้วน โดยไม่มีอคติ คุณต้องยึดม่นในความถูกต้องครบถ้วน
ั
ข้อมูลต้องตรวจสอบได้ มีการพิสูจน์ให้เห็นได้อย่างชัดเจน ประเด็นคือ
ื
Advocacy Journalism เม่อข้อพิสูจน์ชัดเจน ส่อต้องการจุดกระแสให้
ื
ึ
สังคมรู้ว่ามีการทุจริตเกิดข้น อาจกลายเป็นการข้ามไปสู่ Propaganda
ี
ท่เป็นการผสมระหว่างความจริงกับไม่จริง ในขณะท่ Advocacy Jour-
ี
ื
nalism ต้องจริง ต้องจุดกระแสให้ประชาชนรู้ว่าเร่องน้ยอมไม่ได้
ี
140 เรื่องเล่าคนท�างานสื่อสาธารณะ “ไทยพีบีเอส”