Page 161 - SolutionsCivicJournalism
P. 161
2. ความร่วมมือจากนักข่าว บรรณาธิการ บุคลากรสายข่าว
ทุกคน ไม่ได้เชื่อในแนวคิดวารสารศาสตร์สาธารณะ นักข่าวบางส่วน
เห็นว่าบทบาทในการเป็นเวทีกระตุ้นให้เกิดการอภิปรายถกเถียง (ซึ่ง
�
เป็นบทบาทสาคัญของวารสารศาสตร์สาธารณะ) ควรจ�ากัดอยู่เฉพาะ
ี
�
ั
บทบรรณาธิการ แต่ไม่ใช่หนังสือพิมพ์ท้งฉบับต้องทาหน้าท่ดังกล่าว
หรือความเช่อว่านักข่าวมหน้าท่รายงานข้อเท็จจริงท่เกิดขึ้นคือ ม ี
ี
ี
ื
ี
บทบาทรายงานข่าวสาร แล้วประชาชนต้องนาข้อมูลเหล่าน้นไปตัดสิน
�
ั
ใจในประเด็นสาธารณะเอง นักข่าวไม่ควรมีบทบาทในการกระตุ้น หรือ
สร้างให้เกิดการมีส่วนร่วมของสาธารณชน
นักข่าวบางคนไม่ได้เห็นว่าวารสารศาสตร์พลเมือง หรือข่าว
ท่นักข่าวพลเมืองรายงานคือ ข่าว แต่เห็นว่าเป็นเพียง “วัตถุดิบ”
ี
ื
ี
ประกอบการรายงานข่าวท่ตนเป็นผู้รายงานเท่าน้น เพราะเช่อว่านักข่าว
ั
ี
�
เป็นอาชีพท่ต้องการทักษะความชานาญเฉพาะตัว และมีภารกิจท่ต้อง
ี
ั
รับผิดชอบต่อสังคม ไม่ใช่งานของนักข่าวสมัครเล่น หรือประชาชนท่วไป
3. การจัดโครงสร้างองค์กรให้เกิดความร่วมมือกัน ในบาง
องค์กรท่มีการนาวารสารศาสตร์สาธารณะไปใช้ มักมีแผนกหรือฝ่าย
ี
�
็
ื
ทดแลวารสารศาสตร์พลเมอง แต่เมอนกข่าวพลเมองเปิดประเดนมา
่
ื
ู
ี
ั
่
ื
ไม่มีฝ่ายข่าวรับไปรายงานต่อ เพราะขาดโครงสร้างท่เอ้อให้เกิดการ
ื
ี
ท�างานร่วมกันระหว่างนักข่าวอาชีพกับนักข่าวพลเมือง
150 เรื่องเล่าคนท�างานสื่อสาธารณะ “ไทยพีบีเอส”