Page 163 - SolutionsCivicJournalism
P. 163
ความเป็นนักกิจกรรม นักเคลื่อนไหวอยู่กลายๆ ไม่ได้เป็นผู้สังเกตการณ์
ื
เพราะต้องขับเคล่อนให้เกิดการมีส่วนร่วมของพลเมือง แต่ก็มิใช่ไป
ก�าหนดหรือชี้น�าว่าพลเมืองต้องคิดเห็นอย่างไร
วารสารศาสตร์สาธารณะแตกต่างกับ Advocacy Journalism
ี
เป็นแนวทางการรายงานข่าวท่เห็นต่างจากแนวทางการรายงานข่าว
ี
แบบ Traditional reporting ท่ให้คุณค่ากับวัตถุวิสัย (Objectivity)
และความเป็นกลาง (Neutrality)
ี
กล่าวคือ Advocacy Journalism เป็นการรายงานข่าวท่นัก
ี
ั
ื
ี
ข่าวเช่อว่า วิธีท่ดีท่สุดในการรักษาผลประโยชน์ของสาธารณชนน้น
ื
เกิดจากการมีองค์กรส่อท่หลากหลาย และความหลากหลายของ
ี
ื
องค์กรส่อ เกิดจากความแตกต่างของมุมมองในการรายงาน จึงไม่เช่อ
ื
ึ
ว่าการยึดวัตถุวิสัยในการรายงานข่าวจะได้มาซ่งความจริง ซ่งอีกนัย
ึ
หนึ่งก็คือปฏิเสธว่า ความจริงไม่ได้มีเพียงหนึ่งเดียว และไม่ได้มาด้วย
มุมมองการรายงานข่าวแบบวัตถุวิสัยเท่านั้น
ดังนั้น Advocacy Journalism จึงแตกต่างจากอคติในการ
รายงานข่าว เพราะอคติเกิดจากความจงใจ เจตนาการปฏิเสธหลักใน
การรายงานข่าวอย่างวตถวิสย และความเป็นกลางท่เป็นธรรมเนียม
ี
ั
ั
ุ
ปฏิบัติของการรายงานข่าวดั้งเดิม ท�าให้ Advocacy journalism มี
ฐานะเป็น Alternative journalism
วารสารสาธารณะกับวารสารศาสตร์พลเมือง (Citizen Jour-
152 เรื่องเล่าคนท�างานสื่อสาธารณะ “ไทยพีบีเอส”