Page 185 - SolutionsCivicJournalism
P. 185
ี
ลดลงได้มากท่สุด หรือการใช้เกณฑ์ด้านนโยบาย เช่น นโยบายของ
ี
�
จังหวัดไหนประสบความสาเร็จมากท่สุดในการป้องกันวัยรุ่นสูบบุหร ่ ี
�
ี
ื
การทาข่าวแบบใช้ชุดข้อมูลเพ่อมองหาสถานท่หรือบุคคลท ่ ี
มีความสามารถในการแก้ปัญหา ยังช่วยให้นักข่าวไม่ลาบากใจว่าจะ
�
�
ู
�
ี
ถกมองว่าทาข่าวแบบพอาร์ เพราะข้อมลจะเป็นตวกาหนดเรองราว
ั
ู
่
ื
ื
และลบความเคลือบแคลงเร่องของการเข้าข้างหรือการเขียนข่าวพีอาร์
หลักเกณฑ์ในการสัมภาษณ์
ี
�
นักข่าวทุกคนถูกสอนให้รายงานข่าวอิงกับคาถามท่ว่า ใคร
ท�าอะไร ท่ไหน เม่อไร และทาไม แต่มุมมองของนักข่าวต้องเปล่ยนไป
�
ื
ี
ี
�
จากเดิม สาหรับการหาแนวทางท่สามารถสร้างผลกระทบในวงกว้าง
ี
เพื่อรับมือกับปัญหาในสังคม
หลักใหญ่ใจความในงานส่อสารทางออกให้สังคม ไม่ได้อยู่ท ่ ี
ื
คุณลักษณะของผู้ที่ตกเป็นข่าว ว่า “กล้าหาญ” หรือ “ไม่เห็นแก่ตัว”
ั
ี
ฯลฯ แต่อยู่ท่การกระทาอันชาญฉลาดของคน องค์กร หรือบริษัทน้นๆ
�
ื
�
พูดง่ายๆ คือ “เน้องาน” หรือ “ผลงาน” เป็นตัวดาเนินเร่องหลักใน
ื
งานสื่อสารทางออกให้สังคม
ดังน้น แทนท่จะอิงกับคาถามว่า “ใคร” ควรเปล่ยนเป็น “อย่างไร”
ี
ั
ี
�
เช่น องค์กรเล็กๆ สามารถปฏิวัติวิธีรีไซเคิลของทั้งเมืองได้อย่างไร พวกเขา
ใช้มาตรการใดบ้าง ได้บทเรียนอะไรบ้าง หาทุนสนับสนุนอย่างไร
174 เรื่องเล่าคนท�างานสื่อสาธารณะ “ไทยพีบีเอส”