Page 187 - SolutionsCivicJournalism
P. 187
ี
่
่
้
ั
ั
้
้
่
ี
้
้
นั้นก็ท�าอยางน” “แลวตอดวยอย่างนน” หรือหาขอมูลททรงพลงและ
น่าประหลาดใจ เพื่อดึงผู้ชมหรือผู้อ่านให้ดูหรืออ่านไปจนจบ
ื
ื
ิ
เม่อเขียนช้นงานเสร็จ ระหว่างการอ่านทบทวนเน้อหาควรต้ง
ั
�
ี
ี
ื
ิ
ค�าถามว่าเร่องน้เก่ยวข้องกับส่งท่ผู้คนกาลังพูดถึงในแง่มุมไหนบ้าง
ี
และเรื่องนี้สร้างผลกระทบแก่ชีวิตของผู้อ่านหรือผู้ชมอย่างไร รวมถึง
ค�าถามท่ว่าผลกระทบจากข่าวน้ กว้างขวางแค่ไหน และบุคคลหรือ
ี
ี
�
ิ
หน่วยงานอ่นสามารถนาไปปรับใช้ได้หรือไม่ เพราะส่งเหล่าน้ทาให้ข่าว
ี
�
ื
มีมิติและความลุ่มลึกมากขึ้น
ก่อนน�าเนื้อหาไปเผยแพร่ ก็ควรดูจังหวะเวลาด้วย ว่าเรื่องนี้
เหมาะหรือไม่สาหรับช่วงครบรอบเหตุการณ์ส�าคัญ หรือเหมาะกับวัน
�
หยุด เข้ากับเทรนด์ที่ก�าลังเป็นกระแส หรือเป็นเหตุการณ์รายวัน
ทางออกส�าหรับสื่อที่มีพื้นที่หรือเวลาออกอากาศน้อย
ิ
ช้นงานส่อสารทางออกให้สังคมท่เป็นมาตรฐาน มักจะมีความ
ี
ื
ยาวและใช้เวลาในการออกอากาศหรือในการอ่าน ระดับหน่ง อย่างไร
ึ
ื
ี
ก็ตาม ในกรณีท่มีพ้นท่หรือเวลาออกอากาศไม่มากนัก ทางเลือกใน
ี
ี
การนาเสนอคือการหยิบประเด็นท่ทุกคนทราบอยู่แล้วว่าเป็นปัญหา
�
อย่างเรื่องตัวเรือดซึ่งเป็นที่พูดถึงมากในนครนิวยอร์กเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่าน
มา นักข่าวของ AM New York ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์แจกฟรีตามรถไฟ
ี
ี
ิ
ใต้ดิน พูดถึงปัญหาน้เพียงประโยคเดียว (เพราะเป็นส่งท่ทุกคน
ตระหนักดีอยู่แล้วในขณะนั้น) แล้วรายงานข่าวดีต่อไปเลยว่าตัวเรือด
176 เรื่องเล่าคนท�างานสื่อสาธารณะ “ไทยพีบีเอส”