Page 5 - ThaiPBSWay2
P. 5
ั
ุ
่
ิ
ื
ี
ถ้าถามสอมวลชนทกคนถึงความวิตกกงวลต่อสถานะทางวชาชพ
ี
ในเวลาน น่าจะได้คาตอบท่ใกล้เคียงกัน คือ กังวลว่าจะปรับตัวไม่ทัน
�
้
ี
่
ี
ิ
ั
่
็
ี
่
ั
ตอการเปลยนแปลงพลกผนอยางรวดเรวของเทคโนโลยและ สภาพปญหา
ี
ทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ท่มาชุมนุมกันจนเป็นภาวะความท้าทาย
คร้งใหญ่ของนักวิชาชีพส่อ
ื
ั
ี
ด้วยเหตุน้ การมีหลักการและกรอบจรรยาบรรณวิชาชีพ เป็นแนวทาง
ิ
ให้ยึดถือ จึงย่อมเป็นเคร่องมือช่วยท่สาคัญย่งในการฝ่าความท้าทาย
ี
�
ื
และเป็นการเสริมฐานรากของการปฏิบัติหน้าท่ส่อมวลชนให้ม่นคงข้น
ึ
ั
ื
ี
ั
ื
อีกท้ง ยังจะเป็นเคร่องป้องกันความผิดพลาด หรือการถูกปฏิเสธ
ี
ื
ึ
ึ
ื
จากประชาชน ซ่งเป็นเร่องท่ไม่มีส่อมวลชนคนใดอยากให้เกิดข้น
ี
ค่มอ Thai PBS WAY เล่ม ๒ น้ จึงพัฒนาขึ้นให้สอดคล้องกับภาวะ
ู
ื
ื
ื
ี
ี
ความท้าทายท่กล่าวไปน้ โดยเน้นท่เน้อหาของส่อคอนเวอร์เจนซ์ เป็นหลัก
ี
�
ี
ื
รวมถึงประเด็นอ่นๆ ท่เป็นพ้นฐานทางจรรยาบรรณแต่ก็จาเป็นต้องอธิบาย
ื
ื
ใหม่ให้เข้ากับสภาวะปัจจุบัน เช่น แนวปฏิบัติเพ่อป้องกันการละเมิดสิทธิ
ส่วนบุคคล ความเป็นอิสระบนพ้นท่ส่อสาธารณะ เป็นต้น
ี
ื
ื
ในฐานะฝ่ายบริหารไทยพีบีเอส ขอขอบคุณ คุณจักร์กฤษ เพ่มพูล
ิ
กรรมการนโยบาย ท่เป็นผู้เขียนคู่มือฉบับน้ขึ้นและหวังเป็นอย่างย่งว่า คู่มือ
ิ
ี
ี
ี
ี
ท่เป็นเสมือนแนวปฏิบัติน้ จะเป็นประโยชน์ต่อวิชาชีพส่อมวลชนในวงกว้าง
ื
.
ผู้อ�านวยการไทยพีบีเอส