Page 6 - ThaiPBSWay2
P. 6
ื
ี
องค์การส่อสาธารณะ ท่เรียกกันว่า ไทยพีบีเอส (Thai PBS) อยู่คู่สังคม
ี
ไทยมา ๑๓ ปีแล้ว ด้วยความคิดเห็น ทัศนคติ และความเข้าใจท่หลากหลาย
ท้งน้ พระราชบัญญัติองค์การกระจายเสียง และแพร่ภาพสาธารณะ
ี
ั
แห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๘ กาหนดให้ไทยพีบีเอส ทาหน้าท ี ่
�
�
ื
เป็นองค์กรส่อสาธารณะด้านวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ รวมท้ง ั
ื
ื
เผยแพร่รายการในระบบอ่นหรือเทคโนโลยีทันสมัยอ่น
่
่
์
ิ
ั
้
�
ั
ุ
้
ั
ั
ี
ี
ส�าคญอยางยง กฎหมายจดตง กาหนดวตถประสงคใหไทยพบเอส
ี
ด�าเนินกิจการด้วยการบริการข่าวสารท่เท่ยงตรง รอบด้าน สมดุล และ
ี
ซ่อตรงต่อจรรยาบรรณ
ื
ี
เป็นองค์กรส่อเพียงองค์กรเดียว ท่ก�าหนดให้ข้อบังคับด้านจริยธรรมม ี
ื
“สภาพบังคับ” และมีบทลงโทษ แม้ในความเป็นจริง ความผิดด้านจริยธรรม
ื
จะเป็นเร่องมาตรการทางสังคม หรือ Social Sanction คือการสร้างระบบ
ั
การควบคุมสังคม โดยสังคมน้นเองก็ตาม
ความผิดด้านจริยธรรม เป็นปรากฎการณ์ร่วมท่เกิดข้นจานวนมาก
�
ี
ึ
ในสังคมท่ส่อท้งระบบ เข้าสู่ยุคแห่งการหลอมรวมส่อ หรือ Media
ี
ื
ั
ื
ื
Convergence โดยเฉพาะช่องทางส่อท่หลากหลาย เป็นโอกาสให้
ี
ึ
เกิดการแพร่ระบาดของส่อท่ขาดความรับผิดชอบมากข้น
ื
ี
ื
Thai PBS WAY ว่าด้วยจริยธรรมส่อคอนเวอร์เจนซ์ เป็นภาคต่อเน่องจาก
ื
ึ
Thai PBS WAY ว่าด้วยกฎหมายในงานข่าว และรายการ ซ่งประกอบด้วย
�
หลักคิด และแนวปฎิบัติสาคัญ เช่น โฆษณาแฝง การรายงานข่าว และ
�
ภาพผู้กระทาความผิดในคดีอาญา การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล และข้อมูล
ส่วนบุคคล ความเป็นอิสระของวิชาชีพกับความรับผิดชอบเชิงจริยธรรม
ี
�
การทาหน้าท่บนพ้นท่สาธารณะ ความซ่อตรงในวิชาชีพ การไม่มีผลประโยชน์
ื
ื
ี
ทับซ้อน และจริยธรรมส่อสังคมออนไลน์ โดยใช้วิธีอธิบายด้วยกรณีศึกษา
ื