Page 50 - ThaiPBSWay2
P. 50
ั
ื
การพิจารณาบทบาทในทางวิชาชีพของความเป็นส่อมวลชนน้น
�
แม้จะต้องคานึงถึงหลักสิทธิมนุษยชน แต่ก็ต้องให้ความสาคัญกับสิทธิใน
�
ั
ู
่
ี
ู
การรบร้ข้อมลข่าวสาร ทครบถ้วนและรอบด้านของประชาชนด้วย
การรักษาสมดุลระหว่างสิทธิมนุษยชน กับสิทธิการรับรู้ ก็คือการให้การ
ศึกษา เรียนรู้กับประชาชน กับสถานะของบุคคลที่แตกต่างกันในเรื่องที่
เก่ยวข้องกับคดีอาญา ท่มิได้แปลว่า ช่อผู้กระทาความผิด คือผู้ร้ายหรือ
ี
�
ื
ี
ิ
ั
�
อาชญากร หรือภาพของบุคคลน้น คือผู้ทีกระทาความผดเสมอไป
เพราะยังมีกระบวนการในการพิจารณาคดีอีกหลายขั้นตอน ซ่งเม่อ
ึ
ื
คดีถึงที่สุดแล้ว บุคคลนั้นอาจมิได้เป็นผู้กระท�าความผิดก็ได้
ในคดีอาญา มีหลักการสาคัญ คุ้มครองบุคคล บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
�
แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐ มาตรา ๒๙ วรรค ๒ ความว่า
“ในคดีอาญา ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า ผู้ต้องหาหรือจาเลยไม่มีความผิด
�
�
�
และก่อนมีคาพิพากษาอันถึงท่สุดแสดงว่า บุคคลใดได้กระทาความผิด
ี
จะปฎิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็นผู้กระท�าความผิดมิได้”
64