Page 46 - ZeroWaste
P. 46
�
ต้องกาหนดบทบาทของไทยพีบีเอสว่า เป็นผู้ประสานงานหรือจัด
ื
�
ื
กระบวนการเพ่อนาไปสู่ทางออก แต่จะไม่เข้าไปตัดสินในเน้อหาความ
ขัดแย้ง
�
“เพราะถ้าเป้าหมายเราจะทาให้ทุกฝ่ายมาร่วมกันแก้ปัญหา
เราจะไปฟันธงตัดสินความขัดแย้งระหว่างกันคงไม่ได้ เช่น ถ้าเราบอก
ว่าเห็นด้วยกับการขนออกนอกเกาะ ภาคประชาชนไม่เห็นด้วย เราก็
ู
ั
กลายเป็นค่ขดแย้งกับภาคประชาชน แต่ถ้าเราบอกว่าจัดการบน
เกาะด เทศบาลฯ บอกไม่ใช่ เราก็กลายเป็นคู่ขัดแย้งกับเทศบาลฯ อีก
ี
�
ี
แบบน้ก็ทางานหาทางออกต่อไปไม่ได้ เพราะไปติดหล่มความขัดแย้ง
กับเขาด้วย
“ถามว่าไทยพีบีเอสมีองค์ความรู้เพียงพอไหม ท้งทางวิชาการ
ั
ี
และบริบทของเขา เราไม่ได้มีความรู้ขนาดท่จะตัดสินได้ ไม่สามารถช้ได้
ี
�
ี
ั
ี
ื
ี
�
�
ว่าให้ทาแบบน้ ไม่ทาแบบน้น ท่สาคัญท่สุดก็คือเร่องความเหมาะสม
ทันทีที่ไทยพีบีเอสซึ่งเป็นสื่อ ชี้หรือเข้าข้างใคร ความขัดแย้งจะใหญ่ขึ้น
เพราะมีสื่อเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา และไม่ใช่หน้าที่ของเรา ในเมื่อเขาให้หา
ทางออก เราก็ต้องหาทางออก” จิตติมา บ้านสร้าง คณะทางานท่เป็น
�
ี
ตัวแทนจากส�านักข่าว กล่าว
คณะทางานโครงการสมุยสะอาด ยึดบทบาทดังกล่าวเป็น
�
หลักในการดาเนินงานต้งแต่น้นมา โดยใช้วิธีการเดินทางไปพบกับกลุ่ม
�
ั
ั
ต่างๆ ทีละกลุ่ม เพ่อแนะนาตัว ท�าความรู้จัก ชวนคุยว่าปัญหาอยู่ท่ใด
�
ื
ี
ื
ี
�
จะกาจัดขยะอย่างไร ด้วยวิธีไหน เป็นการแลกเปล่ยนความคิด เพ่อหา
�
ทางแก้ปัญหาร่วมกัน โดยยึดหลักปฏิบัติสาคัญในการเข้าถึงแต่ละกลุ่ม
36 เรื่องเล่าคนท�างานสื่อสาธารณะ “ไทยพีบีเอส”