Page 48 - ZeroWaste
P. 48
ุ
ี
ื
ึ
่
ุ
ี
ี
่
คอ เราต้องเข้าถงทกภาคส่วนทเกยวข้องอย่างสมดล เท่าเทยม ไม่ว่า
ภาครัฐ การเมืองท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาควิชาการ หรือเอ็นจีโอ ไม่
ให้น�้าหนักใครมากกว่าใคร และไม่เข้าข้างใครเป็นพิเศษ
ี
“เราเข้าหาผู้มีส่วนเก่ยวข้องแต่ละกลุ่ม เราคุยทีละกลุ่ม
่
ี
ื
�
่
แม้เราจะกาหนดบทบาทตัวเองได้ว่าเรามหน้าทอะไร แต่เมอเรายงหา
ี
ั
ทางออกไม่เจอ ก็คุยทุกกลุ่ม คุยเพื่อให้เห็นว่ากลุ่มนี้คิดอย่างไร คุยเพื่อ
หาข้อมูลองค์ประกอบข้อมูลขยะของคุณคืออะไร มีเท่าไร ใครสร้าง รวม
ื
ี
ี
ั
ท้งบริบทอ่นๆ ท่เก่ยวข้องกับวงจรขยะ เช่น วิถีชีวิต ความเป็นอยู่
ลักษณะนิสัยใจคอของคนสมุย ชอบอะไรไม่ชอบอะไร คิดอะไรกับเรื่อง
ขยะ เราได้ข้อมูลเร่อยๆ เห็นผู้เล่น ปัจจัยท้งภายใน ภายนอก เราเข้าหา
ื
ั
ี
ี
แต่ละกลุ่มเพ่อฟังเขาให้มากท่สุด เรียนรู้เขาให้มากท่สุด” จิตติมา เล่า
ื
ถึงขั้นตอนการท�างาน
บิงโก!!! ในที่สุดคณะท�างานก็แกะรอยอะไรได้บางอย่าง
ส่งท่คู่ขัดแย้งคิดเหมือนกันก็คือ การลดปริมาณขยะคือการ
ี
ิ
จัดการขยะอย่างย่งยืน แต่ท่ผ่านมาเป็นแบบต่างคนต่างทาตามความคิด
ี
ั
�
ตามก�าลัง ไม่มีการร่วมมือกัน จึงขาดการตั้งเป้าหมายร่วม
ี
�
ื
ื
เม่อพบเง่อนไขท่อาจนาไปสู่ทางออก กลยุทธ์ท่คณะทางานใช้
ี
�
ต่อไปก็คือ ชวนให้แต่ละกลุ่มคิดต่อไปว่า ถ้ายังหาทางออกว่าจะจัดการ
ขยะตกค้าง 3 แสนตันไม่ได้ มาท�าอะไรที่ท�าได้ไปก่อนดีกว่าไหม
“เราชวนเขาแบบน้ ว่า ตอนน้มีขยะเกิดใหม่วันละ 150 ตัน
ี
ี
ิ
หากยังไม่จัดการ ปริมาณขยะจาก 3 แสนตัน จะเพ่มทุกวัน เป็น 3 แสน
บวก 150 ตัน บวก 300 ตัน บวก 450 ตัน บวกไปเรื่อยๆ กระทั่งเป็น
38 เรื่องเล่าคนท�างานสื่อสาธารณะ “ไทยพีบีเอส”