Page 5 - 8YearsWithGratitude
P. 5
สื่อสาธารณะในยุคดิจิทัล และการเป็นโรงเรียนของสังคม
ในชวงหลายปที่ผานมา การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัลทำใหพฤติกรรมผูชมเปลี่ยนไปอยางมาก จากผูชมหนาจอ
ทีวีสูผูใชสื่อแบบ On Demand บนชองทางอินเทอรเน็ต การรุกของตลาดสื่อ Global Streaming และการเพิ่มขึ้นของเนื้อหา
ที่ไมผานการกลั่นกรอง เปนความทาทายสำคัญที่ไทยพีบีเอสตองเผชิญ
ดิฉันจึงเดินหนาสูแผน Digital Transformation ที่กำหนดแนวทางการเปลี่ยนผานทั้งดานเทคโนโลยี คน โมเดลองคกร
การผลิต การมีสวนรวมของประชาชน โดยยึดหลักวา สื่อสาธารณะควรเปน "โรงเรียนของสังคม" ที่ทุกคนเขาถึงได ไมวาจะ
อยูในพื้นที่ใด เพศสภาพ อายุ หรือฐานะใด เราจึงพัฒนาเนื้อหาที่สงเสริมการเรียนรู ในทุกรูปแบบ ทั้งขาว สารประโยชน
และสาระบันเทิง พัฒนาแพลตฟอรมและบริการดิจิทัลใหเขาถึงคนทุกกลุม
เสริมพลังภาคประชาชน และขยายพื้นที่สื่อสาธารณะ
การกระจายศูนยกลางอำนาจการสื่อสารไปสูชุมชนและภาคประชาชน คือหัวใจสำคัญของการพัฒนาสื่อในระบอบ
ประชาธิปไตย มีตัวอยางมากมายที่ทีมงานสื่อภาคพลเมืองของไทยพีบีเอสแสดงใหเห็นวา เสียงของประชาชนในพื้นที่เล็ก ๆ
สามารถสรางแรงสั่นสะเทือนที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงระดับประเทศได เมื่อมีพื้นที่สื่อที่เปดกวางและใหคุณคา
เราไดสนับสนุนเครือขายสื่อพลเมืองทั่วประเทศ เพื่อรายงานจากชุมชนและพื้นที่จริง เปดพื้นที่ใหเสียงของประชาชน
สะทอนขึ้นสูสาธารณะ และเชื่อมตอกับกระบวนการนโยบาย ผานแพลตฟอรมและรายการตาง ๆ เชน C-Site, The Active,
เวทีระดมปญญาเพื่อเสนอนโยบายสาธารณะกอนการเลือกตั้งทุกระดับ ฯลฯ
นอกจากนี้ ไทยพีบีเอสยังไดทดลองสรางเครือขายสื่อทองถิ่นและผูผลิตอิสระในระดับภูมิภาค ลดการกระจุกตัวของการ
สื่อสารอยูเพียงศูนยกลาง ดวยแนวคิดการสราง “ระบบนิเวศสื่อ” ที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกันอยางยั่งยืน