Page 87 - AnnualReport256
P. 87
ื
ำ
2.2 ขับเคล่อนเร่องสิทธิมนุษยชน และสิทธิชุมชน โดยกาหนดให้เป็นวาระหลัก และเป็นยุทธศาสตร ์
ื
การสื่อสารในปี 2566
ุ
ู
ื
ุ
2.3 ตระหนักถึงการเข้าถึงส่อสาธารณะของคนเล็กคนน้อย กล่มผ้พิการ กล่มเปราะบาง และ
กลุ่มชาติพันธุ์ เช่น สร้างแพลตฟอร์มเฉพาะสำาหรับให้แต่ละกลุ่มเข้าไปใช้ประโยชน์โดยตรง
2.4 ตระหนักถึงความคุ้มค่าในมิติทางสังคมและการสื่อสาร ให้เข้าถึงคนชายขอบและคนเล็กคนน้อย
ุ
2.5 คานึงถึงกระบวนการรับฟังความคิดเห็นและการมีส่วนร่วม ท่ครอบคลุมกล่มคนท่เข้าไม่ถึง
ำ
ี
ี
เทคโนโลยี
3. สร้�งคว�มยั่งยืนจ�กก�รต่อยอดและสร้�งเครือข่�ย
ิ
ื
ื
3.1 สร้างความร่วมมือกับเครือข่ายส่อสาธารณะท้องถ่น พัฒนาศักยภาพเครือข่ายเพ่อนส่อสาธารณะ
ื
เครือข่ายสื่อพลเมืองในระดับภูมิภาคและระดับท้องถิ่น โดยเชื่อมองค์ความรู้ บูรณาการการทำางานร่วมกัน
่
่
ำ
ื
ี
ื
้
ี
้
ั
3.2 ยกระดบการทางานของไทยพีบเอสใหเป็นกลไก และพนทกลางในการเชอมประสานและ
ื
ั
ื
ู
แบ่งปันทรัพยากรร่วมกับภาคีเครือข่าย เพ่อขับเคล่อนสังคมส่ความย่งยืน และพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม
ื
3.3 ยกระดับด้านการส่อสารและเตรียมการรับมือภัยพิบัติร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่าย
ำ
โดยศูนย์พัฒนาการส่อสารด้านภัยพิบัติจัดทาแพลตฟอร์มติดตามและส่อสารภัยพิบัติเฉพาะกิจในระดับ
ื
ื
ภูมิภาค
ู
ู
3.4 ต้องมีเกณฑ์ในการจัดสรรงบประมาณให้กับสภาผ้ชมและผ้ฟังรายการท่ชัดเจน โปร่งใส
ี
โดยมีสัดส่วนงบประมาณท่ให้กับสภาผ้ชมและผ้ฟังรายการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 ของงบประมาณ และ
ู
ู
ี
รายได้ ที่ ส.ส.ท. ได้รับจัดสรรในแต่ละปี
ข้อเสนอเชิงเนื้อห�
ำ
ี
ื
ควรให้ความสาคัญกับการส่อสารท่สร้างความร้ความเข้าใจอย่างต่อเน่องเก่ยวกับแนวคิดการพัฒนา
ู
ื
ี
ของรัฐและประชาชนและผลกระทบที่เกิดขึ้น ในประเด็นต่อไปนี้
ภัยพิบัติ สภ�วะโลกร้อน ก�รเปลี่ยนแปลงสภ�พภูมิอ�ก�ศ
o ติดตามและนาเสนอประเด็นสภาวะโลกร้อน ประเด็นภัยพิบัติเป็น “วาระเร่งด่วน” โดยมีเน้อหา
ื
ำ
ี
ครอบคลุมสาเหตุท่เกิดจากการจัดการเชิงโครงสร้างต่อระบบนิเวศ วิถีชุมชน ภูมิปัญญา รวมถึง
การปรับตัวและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการภัยพิบัติ (สภาวะโลกร้อน น้าท่วม ภัยแล้ง ไฟป่า
ำ
ฝุ่นควัน PM2.5) ตลอดจนการชดเชยประชาชนที่ได้รับผลกระทบ
Thai PBS 2565 85