Page 38 - AnnualReport2566
P. 38
การใช้กระบวนการฟังเสียงประเทศไทย
สร้างจินตนาการภาพอนาคต
ื
ื
ี
การใช้กระบวนการของรายการฟังเสียงประเทศไทยสร้างจินตนาการภาพอนาคต และเปิดพ้นท่สนทนาอย่างไตร่ตรองภายใต้ข้อมูล เป็นเคร่องมือ
ี
ั
ท่สร้างความพึงพอใจให้กับเครือข่ายเจ้าของประเด็น โดยมีเครือข่ายองค์กรต่าง ๆ และมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เข้าร่วมด้วย ในช่วงของการเลือกต้ง
เวทีเสวนา Post Election ภาพอนาคตหลังเลือกตั้ง ถือเป็นช่วงเวลาสำาคัญที่ได้ใช้เครื่องมือนี้ในการกวาดสัญญาณ ฟังเสียงคนจากภูมิภาคเพื่อนำามา
ั
ำ
ำ
ื
ำ
สะท้อนประเด็นสาคัญท่วประเทศ ทาให้มีโอกาสทางานขับเคล่อนประเด็นทางสังคมร่วมกับเครือข่ายองค์กร สถาบันการศึกษา และภาคประชาสังคม
ในท้องถิ่น นำามาสู่การออกแบบ Policy Watch และการร่วมขับเคลื่อนประเด็น
Post Election
ี
ำ
ำ
ั
ั
ั
ั
่
่
ี
ั
ี
ป 2566 มีการเลือกต้งท่วไปคร้งสาคญในเดือนพฤษภาคม The Active และไทยพีบีเอสวางแผนทาหน้าท่สอสาธารณะทชวนสงคมมองให้ไกลกว่า
ื
การเลือกตั้งภายใต้โครงการ Post Election ร่วมกับองค์กรภาคีเครือข่ายกว่า 90 องค์กร สร้างปรากฏการณ์ครั้งสำาคัญในช่วงเวลาของการเลือกตั้ง
่
้
ื
ั
ั
้
่
ุ
่
ี
ำ
์
่
ำ
ื
ั
่
ื
ั
2566 ดวยการนาเครองมอนวตกรรมทางสงคมมาใชพฒนาโจทยคาถาม หาคาตอบ และกระบวนการการมสวนรวมของทกภาคสวน เพอคนหาฉากทศน ์
้
ำ
ั
ของประเทศ (Scenario Thailand) และภาพอนาคตเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Foresight) พร้อมกบถกแถลงแลกเปล่ยนความคิดเห็น ด้วยฐานข้อมูล
ี
ั
ึ
ี
ทางวิชาการ นโยบายรัฐ นโยบายพรรคการเมือง ซ่งเป็นข้อมูลท่ช่วยในการตัดสินใจใช้สิทธิลงคะแนนเลือกต้งอย่างมีคุณภาพ พร้อมส่งต่อส ่ ู
ำ
ื
การขับเคล่อนด้วยการทา Hack Thailand ซ่งเป็นกระบวนการ Policy Innovation ท่จะทาให้การเลือกต้งเป็นการเลือกต้งท่ประชาชนกาหนด
ำ
ี
ั
ั
ำ
ึ
ี
อนาคตของประเทศได้ด้วยตัวเอง
โครงการ Post Election : ภาพอนาคตหลังเลือกตั้ง ประกอบด้วยกิจกรรมที่ต่อเนื่อง ดังนี้
• จัดเวที 8 ภูมิภ�ค ค้นหาภาพอนาคตและประเด็นที่ประชาชน
ในพื้นที่ให้ความสำาคัญ
• Hack Thailand 2575 ค้นหาแนวทางส่ภาพอนาคตด้วย
ู
กระบวนการ Policy Innovation ใน 6 ประเด็น 12 โครงการ
โดยมีประชาชนเข้าร่วมอย่างหลากหลายกลุ่มมากกว่า 100 คน
• เวทเสนอนโยบ�ยในร�ยก�รพิเศษ Post Election
ี
ป็ระช�ชนข่�ย (นโยบ�ย) พรรคก�รเมืองตอบรับ ซ่งมีตัวแทน
ึ
ั
จากพรรคการเมืองใหญ่เกอบทุกพรรค เข้าร่วมแสดงวิสัยทศน ์
ื
ต่อข้อเสนอนโยบายของภาคประชาชน
จากกิจกรรมดังกล่าว นักวิชาการหน่วยปฏิบัติการวิจัยความม่นคงของมนุษย์และความเท่าเทียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้กล่าวไว้ในงานวิชาการ
ั
ี
หัวข้อ “นวัตกรรมประชาธิปไตยในการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายภาคพลเมืองส่ตลาดนโยบาย” ว่าการทาหน้าท่ส่อสารมวลชนในช่วงเวลาท่ม ี
ี
ำ
ู
ื
ั
ั
การจัดการเลือกต้งท่วไปในปี 2566 ในแคมเปญ “Post Election” ของไทยพีบีเอส ไม่เพียงแต่ส่อสารเหตุการณ์การเลือกต้งเท่าน้น แต่ยังเป็น
ื
ั
ั
การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายภาคพลเมืองส่ตลาดนโยบายก่อนการเลือกต้งอย่างเป็นระบบ นับเป็นการยกระดับกระบวนการมีส่วนร่วมของพลเมือง
ู
ั
ในการพัฒนานโยบาย อาจถือได้ว่าเป็นสิ่งที่สร้างความแตกต่าง (Uniqueness) ให้กับสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสในฐานะสื่อสาธารณะที่แตกต่างจาก
สื่อของรัฐและเอกชนอื่น
36 THAI PBS ANNUAL REPORT 2566 THAI PBS ANNUAL REPORT 2566 37