Page 40 - AnnualReport2566
P. 40
้
• ข่�วที่เกี่ยวข่องจ�กทุกช่องท�งสื่อส�รข่องไทยพีบีเอส ซึ่งการออกแบบโครงสร้างของเว็บไซต์นี้ ทำาให้สามารถรวบรวมข่าวที่เกี่ยวข้องกับนโยบาย
่
แต่ละด้านไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วนมากที่สุด
ื
หลังการทดลองเปิดใช้งาน Policy Watch ในช่วงปลายปี 2566 งานส่อสารนโยบายสาธารณะของไทยพีบีเอส ก็ได้รับการกล่าวถึงจากหลาย
ี
ื
ั
องค์กร ท้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคสังคม ภาคประชาชน รวมถึงสถาบันวิชาการและสถาบันการศึกษา ว่าเป็นองค์กรส่อท่ทาหน้าท่ในการติดตาม
ำ
ี
ความคืบหน้าของนโยบายภาครัฐ และกระบวนการมีส่วนร่วมต่อนโยบายของภาคสังคมอย่างเป็นระบบเป็นแห่งแรกในประเทศไทย นามาส่การวางระบบ
ู
ำ
การทำางานของคณะทำางานหรือกองบรรณาธิการเอง ให้เป็นมากกว่าการนำาเสนอเนื้อหาในรูปแบบข่าวหรือสกู๊ปรายการ แต่ยังมีการใช้ประโยชน์จาก
ชุดข้อมูล (Data) และไทม์ไลน์ พร้อมกำาหนดตัวชี้วัดความคืบหน้าของนโยบาย เพื่อทำาให้เห็นพัฒนาการของนโยบายนั้น ๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ำ
ื
ำ
ี
ในรูปแบบการนาเสนอท่เข้าใจง่ายและรวบรวมทุกนโยบายไว้บนแพลตฟอร์มเดียว ทาให้เกิดการส่อสารนโยบายแบบมีส่วนร่วม สร้างระบบนิเวศใหม ่
ของกระบวนการสื่อสาร-นโยบายสาธารณะ-ประชาชน
การศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมของพลเมือง : กรณีศึกษาสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสกับการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบาย
ภาคพลเมืองสู่ตลาดนโยบายก่อนการเลือกตั้ง ปี 2566 โดย มูลนิธิเครือข่ายวิชาการเพื่อสังคมเป็นธรรม (JuSNet)
ื
จากการถอดบทเรยนกระบวนการพัฒนาขอเสนอเชงนโยบายภาคพลเมอง ซ่งจัดขนในชวงการเลือกตงสมาชกสภาผแทนราษฎรไทย
ิ
้
ิ
่
ั
้
ึ
้
ึ
ี
้
ู
ปี 2566 ทั้งกระบวนการพัฒนาข้อเสนอนโยบายเชิงพื้นที่ กระบวนการพัฒนาข้อเสนอนโยบายเชิงประเด็น และกิจกรรม Hack Thailand 2575
ี
ำ
ั
ู
ำ
ู
พลิกโฉมประเทศไทย พบว่า ผ้เข้าร่วมกระบวนการสะท้อนว่าการให้ข้อมูลและสนทนาแลกเปล่ยนสามารถทาให้ผ้เข้าร่วมทบทวน ต้งคาถาม
ื
ู
ี
กับตนเองและผ้อ่นได้ (Develop Preference) มิใช่การเข้าร่วมเพียงการมาแสดงจุดยืน หรือให้ข้อมูลในฐานะผ้เช่ยวชาญเท่าน้น นอกจากน้ ี
ั
ู
ยังพบว่า กิจกรรม Hack Thailand 2575 คือ กระบวนการที่สามารถเชื่อมโยงข้อเสนอนโยบายภาคพลเมืองสู่ตลาดการเมืองก่อนเลือกตั้ง มีกลไก
ึ
รับผิดรับชอบของตัวแทนพรรคการเมืองต่อข้อเสนอของภาคพลเมือง ผ่านกิจกรรมนาเสนอนโยบายของภาคพลเมืองต่อตัวแทนพรรคการเมือง ซ่งม ี
ำ
การถ่ายทอดผ่านรายการของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสอย่างเป็นทางการ การตอบรับนโยบายของภาคพลเมืองดังกล่าวโดยตัวแทนพรรคการเมือง
จึงเปรียบได้กับการให้คาม่นสัญญาของพรรคการเมืองต่อสาธารณะ (Public Commitment) ในประเด็นดังกล่าว กระบวนการพัฒนาข้อเสนอ
ั
ำ
ู
ำ
เชิงนโยบายภาคพลเมืองน้จึงยกระดับจากการสนทนาแบบถกแถลง (Deliberative Dialogue) ระหว่างประชาชนด้วยกันเอง ไปส่การกาหนด
ี
ทิศทางนโยบายของพรรคการเมือง ถือได้ว่าเป็นนวัตกรรมประชาธิปไตยรูปแบบใหม่ที่ยังไม่เคยปรากฏมาก่อน
38 THAI PBS ANNU AL REPOR T 2566 THAI PBS ANNUAL REPORT 2566 39
38
THAI PBS ANNUAL REPORT 2566