Page 55 - Media Disruption The Series
P. 55
55
พฤติกรรมผู้บริโภคสื่อสมัยใหม่และวัฒนธรรมดิจิทัล (Contemporary Media
Consumption & Digital Culture) เป็นปัจจัยหลักในกระบวนการขับเคล่อน ก�าหนด
ื
ี
ึ
สภาพการณ์และทิศทางในระบบนิเวศและภูมิทัศน์สื่อ ซ่งตัวชี้วัดท่ส�าคัญของความ
เปลี่ยนแปลง ได้แก่ 1) อัตราการยอมรับนวัตกรรมการสื่อสารมีอัตราที่สูงขึ้นอย่าง
มีนัยส�าคัญในทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งอัตราการถือครองสมาร์ตโฟน การเข้าถึง
อินเทอร์เน็ตของประชาชน จ�านวนผู้ใช้งานสื่อดิจิทัลและโซเชียลมีเดีย 2) ช่วงเวลา
ที่ผู้บริโภคหรือประชาชนใช้เวลาในการสื่อสาร การเชื่อมต่อเปิดรับข่าวสารบันเทิงและ
ิ
่
็
์
ั
่
่
่
ิ
ิ
์
ั
ั
่
ื
ปฏสมพนธกบสือดจทลและสือใหมผานระบบอนเทอรเนตและเครอขายสือสงคม
ั
่
ิ
ั
ออนไลนที่มีเวลานานและต่อเนื่องยิ่งขึ้น และ 3) กระบวนทัศน์ใหมที่เกิดขึ้นจริงและ
์
่
้
เป็นกระแสแห่งทศวรรษ “ผู้ใชสื่อคือผู้สร้างสรรค์สาร” (User-Generated Content
(UGC)) อาทิ การเติบโตอย่างมนัยส�าคัญของผู้ใชสื่อคือผู้สร้างสรรค์สารผ่านบริการ
ี
้
ติ๊กต๊อก (TikTok) ระหว่างสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด 19 เป็นต้น
ี
รูปแบบใหม่ของการมส่วนร่วมในการสือสารและ
่
พัฒนาการปฏสัมพันธ์เสมือนจริงหลากหลายวิถีในโลก
ิ
ออนไลน์ (Engagement & Virtual Interactivity) เป็น
ปรากฏการณที่ส�าคัญของกระบวนการสือสารในช่วง
์
่
สองทศวรรษที่ผ่านมา โดยที่นวัตกรรมและพฤติกรรม
่
ั
่
้
่
ผูบริโภคสือสมยใหมสร้างรปแบบใหมของการมสวนรวมในระบบการสือสาร จาก
่
ี
่
ู
่
่
ิ
กระบวนการเพียงหนึงหรือสองทางสูความหลากหลายช่องทางในการปฏสัมพันธ์
่
อาทิ การเกิดขึ้นของโซเชียลทีวก่อให้เกิดรูปแบบการปฏิสัมพันธ์พร้อมกันและคขนาน
ู
ี
่
ระหว่างโทรทัศน์และเครือข่ายสังคมออนไลน์ การปฏิสัมพันธ์เสมือนจริงระหว่าง
ิ
ศิลปิน นักร้อง ผู้สร้างสรรค์ผลตคอนเทนต์ และบรรดาผู้ชมผู้ฟัง ผู้ติดตามผ่าน
โซเชียลมีเดีย ที่น�านวัตกรรมสื่อสารมาใช้ส�าหรับการแสดงคอนเสิร์ตและการแสดง
ด้วยระบบเสมือนจริง (Virtual Shows & Concerts) และผ่านระบบการประชุมสื่อสาร
ทางไกลที่เติบโตอย่างก้าวกระโดดในช่วงปี 2563 เป็นต้น