Page 28 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2562
P. 28
ความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ความเชื่อมโยงของวัตถุประสงค์การจัดตั้ง ส.ส.ท.
ไทยพีบีเอสได้รับความไว้วางใจจากเครือข่ายต่างๆ กับการด�าเนินงานผ่านยุทธศาสตร์
ทั้งเครือข่ายในเชิงพื้นที่และเชิงประเด็น ในการร่วมสื่อสาร และแผนงานต่างๆ ในระดับชาติ
ประเด็นเนื้อหา แบ่งออกเป็นเครือข่ายประเภทต่างๆ ดังนี้ จากการประเมินผลการดำาเนินงาน ส.ส.ท. ประจำาปี
1. เครือข่ายวาระพิเศษ เช่น การทำาวาระเลือกตั้ง 2562 พ.ศ. 2562 โดยบริษัท ทริส คอร์ปอเรชั่น จำากัด ได้วิเคราะห์
ไทยพีบีเอสมีความร่วมมือกับ 9 องค์กร เพื่อจัดกระบวนการ ความเชื่อมโยงของวัตถุประสงค์การจัดตั้ง ส.ส.ท. กับการ
รับฟังความคิดเห็นและเป็นหลักประกันของการมีส่วนร่วม ดำาเนินงานผ่านยุทธศาสตร์และแผนงานต่าง ๆ ในระดับชาติ
จากประชาชนในพื้นที่กรุงเทพฯ และภูมิภาค ได้แก่ แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-พ.ศ.2580)
2. เครือข่ายด้านประชาสังคม มีสถานะเป็นทั้งเครือข่าย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ซึ่งจัดทำา
เชิงพื้นที่ในการมีส่วนร่วมและเครือข่ายเชิงประเด็นรับฟังข้อมูล บนพื้นฐานของกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และสอดคล้อง
ความคิดเห็นเพื่อพัฒนาเป็นเนื้อหาในการสื่อสาร และมีบางส่วน กับนโยบาย Thailand 4.0 ดังนี้
ที่สามารถพัฒนาทักษะในการร่วมผลิตเนื้อหาจากมุมมองของ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคง
ท้องถิ่น จำานวน 6 เครือข่าย ได้แก่ เครือข่ายระดับชุมชนที่ได้ มุ่งสร้างสังคมประชาธิปไตย เพื่อเปิดโอกาสให้
รับผลกระทบจากนโยบายหรือการพัฒนาของรัฐ เอกชน (การ ประชาชนมีส่วนร่วมกำาหนดบทบาทและทิศทางของประเทศ
ลงทุนและอุตสาหกรรม) เครือข่ายแรงงานทั้งในและนอกระบบ ผ่านช่องทางสื่ออย่างเท่าเทียม ให้สะท้อนความคิดเห็นใน
เครือข่ายการศึกษา อาทิ เครือข่ายครู นักเรียนบริเวณลุ่มนำ้า ประเด็นที่สำาคัญของประเทศหรือนโยบายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
เจ้าพระยา เครือข่ายฐานทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และภัยพิบัติ กับความมั่นคงของประเทศชาติ เป็นต้น
เช่น เครือข่ายอากาศสะอาด (สื่อท้องถิ่น วิชาการ แพทย์และ
สาธารณสุข ชุมชน) กลุ่มพระสงฆ์นักพัฒนาลุ่มนำ้าโขง เป็นต้น ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
เครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน การรณรงค์ประเด็นทางสังคม มุ่งผลิตรายการด้านข่าวสาร สารประโยชน์ และ
เช่น กลุ่มชาติพันธุ์ เครือข่ายผู้หญิงเพื่อสันติภาพ เครือข่าย สาระบันเทิง ที่มีสัดส่วนเหมาะสม มีคุณภาพสูง และมีความ
นักธุรกิจ กลุ่ม Young Smart Farmer และกลุ่มนักธุรกิจรุ่นใหม่ หลากหลาย เพื่อตอบโจทย์ผู้ชมไทยพีบีเอสและเพื่อเพิ่ม
เป็นต้น ขีดความสามารถในการแข่งขันกับสื่อทั่วไปทั้งในด้านเศรษฐกิจ
3. เครือข่ายสถาบันและองค์กรด้านวิชาการ-วิชาชีพ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยปรับเปลี่ยนค่านิยม
มีความร่วมมือทั้งในการร่วมผลิตรายการ การจัดอบรม การจัด และวัฒนธรรมให้สอดคล้องกับสื่อสาธารณะในปัจจุบัน
ประชุมระดับนานาชาติ และการสนับสนุนเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
ต่อการพัฒนาข่าวและรายการ แบ่งออกได้เป็น 5 ด้าน ได้แก่ มุ่งพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยปรับเปลี่ยน
ด้านสุขภาพ ด้านการเรียนรู้ ด้านส่งเสริมสังคมประชาธิปไตย วัฒนธรรมการใช้สื่อสาธารณะที่มีประโยชน์ เพื่อชี้นำาประเด็น
สิทธิมนุษยชน ด้านประเด็นการขับเคลื่อนในมิติต่างๆ ด้านสื่อ ทางสังคมที่มีคุณค่า ส่งเสริมให้สื่อปฏิบัติตามจรรยาบรรณ
ทั้งในประเทศและต่างประเทศจำานวนมากกว่า 30 องค์กร อย่างเคร่งครัด ให้ความสำาคัญโดยจัดเวลาและพื้นที่ออกอากาศ
เช่น สำานักงานสุขภาพแห่งชาติ สำานักงานกองทุนสนับสนุน ให้แก่สื่อที่สร้างสรรค์ในช่วงเวลาที่มีผู้ชมมากที่สุด กำาหนด
การสร้างเสริมสุขภาพ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ เนื้อหาด้านปฏิรูปการศึกษา เพื่อสร้างการเรียนรู้ทักษะชีวิต
สำานักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน มหาวิทยาลัยรังสิต กรมส่งเสริม และอาชีพ โดยจัดกิจกรรม โครงการที่ไม่ได้จำากัดพื้นที่การ
คุณภาพสิ่งแวดล้อม สถาบันวิทยาการโอลิมปิคไทย สถาบัน เรียนรู้ทางหน้าจอโทรทัศน์ แต่ยังเปิดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม
เกอเธ่ ประเทศไทย องค์กร INPUT, The International Union ต่าง ๆ หรือช่องทาง On Ground เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้
for Conservation of Nature (IUCN), Korea Education ด้วยตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบัติ นำาไปใช้ได้จริง
Broadcasting System (EBS) และ Japan Broadcasting
Corporation (NHK) เป็นต้น
27
ภาพรวมการดำาเนินงานประจำาปี 2562
63-01-101_014-020,025-049_4c TPBS_J-Uncoatedc dic2019.indd 27 6/16/20 10:30 PM