Page 118 - 13 STORIES เรื่องเล่าที่อยากบอก ภารกิจสื่อเกาะติดปฏิบัติการช่วยเหลือ 13 ชีวิตติดถ้ำหลวง
P. 118
“…หน้าที่ของออนไลน์ต้องให้ทั้ง Information และรับ Feedback…”
ภารกิจของส�านักสื่อใหม่ ดูแลเรื่องการท�าเว็บไซต์และ
ื
โซเชียลมีเดีย ด้านเน้อหาภาพรวมของไทยพีบีเอส คือ การ
ให้ information ถามว่า ข้อมูลมาจากไหนบ้าง? ก็มาจาก
็
หน้าจอเป็นหลักประมาณ 90% อีก 10% กมาจากการเอา
ี
ื
ข้อมูลมาขยายความต่อเน่อง คอถ้าเอามาจากทีวหมด ของ
ื
มันก็จะมีแตซ�้าๆ เดิมๆ บางทีมันก็มีการเอามา re-design
่
ตอนนั้นพี่ได้เรียนรู้ของการต่อยอดเนื้อหา เช่น เขามีค�าว่า
“ฮูย่า” กัน เราก็ไปหาความรู้ว่ามันคืออะไร เป็นต้น
ี
เราก็ส่งช่างภาพน่งไปลงพ้นท่ ก็เลยได้ชุดภาพหลายชุด
ื
ิ
เช่น ชุดจิตอาสา ชุดของกลุ่มนักข่าว ชุดของบรรยากาศ
ในพื้นที่ ซึ่งก็สามารถน�ามาแตกเป็นเนื้อหา (content) ที่
ึ
เพ่มข้นได้หลากหลาย เพราะว่าภาพของวิดีโอท่มาจากทีว ี
ี
ิ
จะเน้นภาพที่มาจากสถานการณ์ การ capture ภาพจาก
วิดีโอมันจะได้ภาพที่ไม่สวยมาก ดังนั้นการที่มีช่างภาพนิ่ง
ื
ี
ไปถ่ายภาพจากพ้นท่หรือเหตุการณ์จริงเราก็จะได้ชุดข้อมูล
หรือ content อีกรูปแบบหนึ่ง รวมถึงเรามีการน�าข้อมูล
มาต่อยอดเป็นการ์ตูน จริงๆ เนื้อหามันก็ไม่ต่างกัน แต่แค่
มาเล่าเรื่องใหม่เอามาเปลี่ยนเป็นการ์ตูน หรือตอนนั้นเขา
มีเร่องของเพาเวอร์เจล แล้วคนอยากรู้ว่าเพาเวอร์เจลคือ
ื
อะไร เราก็ท�าข้อมูลขึ้นมาเพื่อส่งเสริมความรู้
ี
นอกจากน้ก็มีรายการสดเฉพาะกิจทางออนไลน์
“รายการล้อมวงข่าว” เป็นรายการสดท่ออนไลน์เท่าน้น
ั
ี
ไม่ได้เช่อมต่อ (sink) กับหน้าจอ รวมถึงรายการภาษาอังกฤษ
ื
ิ
ื
ี
เพราะรอบน้ต้องส่อสารกับคนต่างชาติเพ่มเติม โดยใช้ช่อว่า
ื
ี
ื
ี
ึ
“D-Day Saving the 13” ซ่งช่อน้ก็จะถูกเปล่ยนไปเร่อยๆ
ื
ื
ี
ตามสถานการณ์ของช่วงเวลา เปล่ยนชอไปตามหน้าจอ
่
ี
หน้าจอเปล่ยน mood and tone ไปเป็นอะไร ออนไลน์มัน
ก็ต้องเปล่ยน mood and tone ตาม อย่างเช่น ตอนแรก
ี
ื
เราต้องตามหาน้องให้เจอก่อน เจอแล้วก็เป็นเร่องของการพา
ออกมาอย่างไร พอออกมาอย่างไรเสร็จแล้ว feeling หรือ
118