Page 186 - 13 STORIES เรื่องเล่าที่อยากบอก ภารกิจสื่อเกาะติดปฏิบัติการช่วยเหลือ 13 ชีวิตติดถ้ำหลวง
P. 186
ี
�
�
ี
ละเมิดน่ก็มีนิดนึง ก็คือว่าได้เปรียบตรงท่เราจะรู้ว่าเราจะทาหรือไม่ทาอะไร อย่างเช่นตอนท่เด็กออกมา
ี
ื
ื
ื
ไทยพีบีเอสน่าจะไม่ได้รายงานช่อเด็ก ก็จะไม่มีข่าวน้น เราจะระมัดระวังกว่าทีมอ่น ช่องอ่น แล้วพอระมัดระวัง
ั
ี
�
ั
�
แล้วเราก็จะไม่ต้องไปเสียเวลาคุ้ยหานู้นน่น่น ก็น่าจะมีเวลาในการมาทาสกู๊ปทาอะไรให้มันมากข้น แต่เท่าท ่ ี
ึ
ี
ี
�
เห็นเราไม่ได้ทาผิดอะไร เรารายงานตามรูปแบบของเราท่ไม่มีการวิจารณ์ใดๆ แต่เพียงว่าในช่วงน้ส่งท่ทาได้
�
ิ
ี
ึ
มากข้น ในการเตรียมการคร้งต่อไป เพราะเราไม่ต้องไปลงข่าว sensational อิทธิฤทธ์ต่างๆ เราก็น่าจะมีการ
ั
ิ
�
�
ี
ื
ให้สาระทาสกู๊ปเตรียมไว้ เร่องของถา หรือว่าการจะใช้กราฟิกอธิบาย หรือว่ามีรายงานเชิงลึกในแง่ท่มันเป็น
้
ี
ึ
ี
edutainment ท่มันน่าสนใจด้วย ไม่น่าเบ่อ ไม่วิชาการมากเกินไป ซ่งอันน้ทาได้ เพราะว่าเราไม่ต้องไปตาม
�
ื
ี
ี
ิ
สัมภาษณ์พ่อแม่เด็ก อันน้ก็สามารถท่จะเพ่มความคิดสร้างสรรค์เข้าไปได้
ั
็
็
ั
ั
่
ชวงหลงจากทเดกออกจากถาแลว มนกเปนระยะๆ มนกไมมอะไรมากมาย ตอนนนทกคนกระวงหมด
้
่
ั
ี
ั
็
็
ุ
้
�
่
็
ี
้
ทุกคนก็เตรียมการกันหมด ยังเคยมาสัมภาษณ์ผมก่อนหน้าน้ว่า ถ้าเอาออกไปแล้ว จะต้องระวังอะไรบ้าง
ี
ี
�
ี
อันน้ก็ถือว่าให้ความตระหนักและทาหน้าท่เป็นหน่งในผู้ท่จะคอยเตือนด้วยกัน เป็นการจุดกระแสว่าอันน ้ ี
ึ
ี
ื
�
ต้องระวังนะ แสดงว่าให้ความสาคัญในมารยาทส่อ พอหลังออกไปแล้วก็คิดว่าไม่ได้มีประเด็นอะไร ก็คือไป
ตามต่อ สุดท้ายเร่องน้ก็จบไป
ื
ี
ี
ไทยพีบีเอสมีคู่มือในการทางานในลักษณะน้อยู่แล้ว เช่น ภัยพิบัติ อันน้ก็อาจจะเป็นการอัปเดต
�
ี
ในกรณีท่มี คือไม่ได้เป็นภัยพิบัติแบบกระทบคนแต่มันเป็นลักษณะน้ เช่นว่าในอนาคตจะมีการไป rescue
ี
ี
ึ
หรือกู้ภัยใครสักคน จากเกาะร้าง จากติดเขา มันควรจะมีรูปแบบอะไรได้บ้าง ซ่งก็น่าจะมี workshop
ึ
พูดคุยกับภายในและอาจจะทาออกมาเป็นคู่มืออีกเล่มหน่งก็ได้ หรือออกมาพูดเป็นสกู๊ปถึงผู้ชมเองหรือว่า
�
ี
ี
ึ
�
ื
ใช้โซเชียลมีเดียว่าเม่อมีเหตุการณ์อะไรเกิดข้น เราไม่ควรแชร์ในส่งท่ไม่ดี ท่ทาให้กระทบกระเทือนกับเด็ก
ิ
bully เด็ก ไปเอารูปเด็กมาแล้วก็มาล้อเลียน ซ่งมีบางช่องทา เอาข่าวมาแล้ว ก็บอกว่าน่าเอ็นดู น่าสงสาร
�
ึ
ี
จังลูก แล้วก็ให้คนเข้ามาแสดงความคิดเห็น เราสามารถต่อยอดในแนวนี้ได้ โดยท่ไม่ให้ไปละเมิดสิทธิเด็ก
Q: คิดว่าสื่อต้องเพิ่มอะไรอีกบ้างในอนาคต
ดร.วรัชญ์: เฉพาะตัวสื่อ คือต้องรู้ว่าในภาวะวิกฤต หรือในภาวะที่ประชาชนเขาใจจดจ่ออยู่กับอะไร
ื
ี
บางอย่าง อันน้ภาพรวมของส่อ ส่อต้องรู้ตัวเองว่า ประชาชนจะใส่ใจกับเร่องจริยธรรมมากเป็นพิเศษ
ื
ื
ซึ่งเขาจะท�าอะไรเดิมๆ ในสิ่งที่เขาเคยท�าได้ ถ่ายอะไรมั่วๆ มีอะไรก็ส่งออกมาเป็นข่าว เพราะประชาชน
ี
จะจับจ้องคุณเป็นพิเศษ โดยเฉพาะชาวเน็ตท่มีลักษณะพิเศษท่ไวกับเร่องของความรู้สึกของศีลธรรม หรือ
ี
ื
ว่ามารยาท เป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ซึ่งไม่เกี่ยวกับตัวเขาเองนะ ตัวเขาเองจะศีลธรรมมากน้อย ลักษณะของ
อินเทอร์เน็ตมันเป็นโลกของการวิพากษ์วิจารณ์อยู่แล้ว เพราะในการวิพากษ์วิจารณ์คนอ่นมันง่าย เพราะ
ื
ี
ั
ฉะน้นอะไรท่เขาสามารถวิพากษ์วิจารณ์ได้ เป้าท่เห็นได้ชัดในเหตุการณ์น้ก็คือส่อมวลชน ตัวส่อเองก็ต้อง
ื
ี
ี
ื
ระมัดระวัง แล้วจะท�ายังไงในเมื่อมันมีหลายค่าย หลายช่อง หลาย บก. ก็ต้องมาพยายามคุยกัน สมาคม