Page 187 - 13 STORIES เรื่องเล่าที่อยากบอก ภารกิจสื่อเกาะติดปฏิบัติการช่วยเหลือ 13 ชีวิตติดถ้ำหลวง
P. 187
วิชาชีพก็เป็นหนึ่งในคนกลางในการพูดคุยได้ ถ้ายังไม่มีการจัดการจัดตั้งศูนย์อะไรขึ้นมา สมาคมวิชาชีพ
จะต้องมีบทบาทที่อาจจะออกมาล่วงหน้าในการบอก หรือไทยพีบีเอสเองก็ต้องประชุมกับคนที่จะส่งไป
ี
�
ี
�
้
ว่าเรามีมาตรฐานแบบน อะไรท่ควรทาไม่ควรทาโดย บก. หรือผู้บริหาร สมาคมวิชาชีพเองก็ไม่ใช่ออก
ี
ื
�
เฉพาะแถลงการณ์หลังจากเกิดเหตุการณ์ท่ส่อทาผิด ควรจะต้องออกมาเลยว่านัดคุย หรือมีตัวแทนลง
ไปที่นั้น เพื่อคุยว่าประชาชนเขาแบบนั้นแบบนี้ เราควรจะท�าอะไร ซึ่งมันควรจะต้องเป็นระดับ บก. นะ
เพราะสื่อแค่ 1 เจ้ากระท�าผิด โดนเหมารวมทุกช่อง ไม่ว่าคุณจะท�าดีหรือไม่ดี เช่น รูปนี้ถึงได้มาเราก็ไม่
ี
�
้
ึ
ี
ั
ลงนะ เพราะไม่เช่นน้นมีคนลงท่หน่ง เจ้าของจะโทรมาละว่าทาไมช่องเราไม่ได้ลงรูปน มันต้องมีฉันทามต ิ
ี
ี
่
ี
ื
ร่วมกัน ถ้าเกิดเป็นระดับประเทศแบบน แล้วคนทีจะไปในระหว่างน้ท่สมาคมวิชาชีพเขาถอดบทเรียน หรอ
้
ี
ึ
ั
ไทยพีบีเอสเอง ก็ต้องคุยกัน นัด workshop กัน ก่อนท่วิกฤตคร้งหน้ามันจะเกิดข้น เพราะเท่าฟัง บางคน
เท่าที่เคยได้คุย เมื่อรู้ตัวว่าจะต้องถูกส่งไปนี่มีเวลาเตรียมตัว 1 – 2 ชั่วโมง ขึ้นเครื่องไปละ มันก็ไปถึงแล้ว
ก็แบบไปเอามาสิ ไปเอาข่าวมา ไปเอาภาพมา มันก็ไม่รู้จะท�าไง ก็ไปจ่อหน้าถ�้า ยื่นไมค์ใส่ก้อนหินต้นไม้
ก็ว่า ถ้าอย่างน้อยมีคู่มือว่าเมื่อไปถึงแล้วเราควรปฏิบัติตัวอย่างไร เพราะบางคนช่วงแรกๆ กลุ่มแรกๆ ที่
ไปน่าจะเป็นนักข่าวเด็กๆ ก่อน เช่น ตอนแรกก็อาจเป็นสตริงเกอร์ก่อน พอข่าวเริ่มใหญ่ก็ส่งนักข่าวส่วน
กลางลงไป รุ่นเด็กก่อน หลังจากนั้นก็ค่อยเป็นรุ่นใหญ่ลงไป ซึ่งรุ่นใหญ่อาจจะท�าผิดก็ได้นะ อาจจะรู้สึก
ว่าตัวเองเป็นผู้ใหญ่ น่าจะท�านู้นนี่นั่นได้ ถ้ามีคู่มือ หรือมีการคุยกัน ระดับ บก. ต้องมีบทบาทมากกว่านี้
อาจจะคุยกันที่กรุงเทพฯ ก็ได้ คุยกันใหม่มติแล้วว่าอย่างน้อย เช่น ดิจิทัลทีวีในกลุ่มนี้เราจะปฏิบัติตามนี้
ถ้านอกเหนือจากนี้ไม่ใช่เรา ถ้าคุณจะแบนก็ไปแบนให้ถูก หรือต�าหนิก็จะได้ต�าหนิให้ถูกว่ากลุ่มสื่อที่ไม่ใช่
กลุ่มนี่ แล้วระหว่างนี้ก็เตรียมไว้เลยว่าจะเติมเต็มช่วงเวลาอย่างไรในระหว่างที่ยังหาข่าวไม่ได้ เพราะมัน
ไม่ใช่เรื่องที่พูดวนไปวนมา มีการท�าสาระความรู้อะไรยังไง มีการศึกษากรณีจากต่างประเทศว่าสิ่งที่สาม
รถท�าได้ เป็นสกู๊ปเพิ่มความคิดสร้างสรรค์ในการพลิกตัวข่าวให้มันเป็นรูปแบบอื่นที่ไม่ใช่แค่เล่าไปเล่ามา
ื
ี
และอีกอย่างก็คือท่ส่อควรจะทาคือถ้าผิดก็ควรจะต้องยอมรับผิด ต้องไม่เถียง ในสถานการณ์แบบน ้ ี
�
ึ
ถึงแม้ว่าคุณจะถูก คุณจะมีเหตุผล แต่มันก็ฟังไม่ข้นหรอก คุณต้องยอมรับผิดอย่าไปดูถูกความคิดของ
ี
ื
ประชาชน ส่งท่เป็นปัญหาโดยรวมคือศรัทธาของประชาชนท่มีต่อส่อมันลดลงเร่อยๆ เขารู้สึกว่าเขาไม่
ื
ี
ิ
ต้องพ่งส่ออีกต่อไป แต่จริงๆ ในกรณีน้เขาต้องพ่งนะ เพราะเขาไปถึงพ้นท่ไม่ได้ เพราะฉะน้นจะทาอย่างไร
ี
ี
ั
�
ึ
ื
ึ
ื
พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาสในการปูศรัทธาประชาชนในความเชื่อถือ ให้โอกาส เราก็ต้องให้ข้อมูลที่ดีที่สุด
ที่ไม่ไปท�าร้ายกระบวนการหรือสังคม
“ปกติคุณค่าข่าวมันจะมีแค่ความรวดเร็ว conflict ความใกล้ชิด ผลกระทบ
แต่ในกรณีที่เป็นวิกฤตเรื่องจริยธรรมเผลอๆ จะขึ้นมาเป็นอันดับหนึ่ง ที่สื่อจะต้องให้ความส�าคัญ
มากที่สุดมากกว่าความรวดเร็วหรือผลกระทบ เพราะว่าถ้าเกิดคุณผิดจริยธรรมแล้ว
มันจะเป็นผลเสียในภาพรวม มันจะมากกว่าข่าวเร็ว ข่าวลึก”
187