Page 107 - AgingSociety
P. 107
ี
�
ี
ขณะท่บางคน แม้ชีวิตจะเข้าใกล้สู่คาว่าชีวิตท่สมบูรณ์ แต่กลับ
รู้สึกเหมือนไม่ได้รับความเคารพนับถือจากคนหนุ่มสาวในบ้านเกิดเมือง
นอนของตนในฐานะผู้สูงวัยเหมือนอย่างท่รู้สึกยามท่อยู่เมืองไทย
ี
ี
้
้
็
บางคนใชเมืองไทยเปน “บานหลังที่สอง” เพื่อหนีหนาวจาก
ู
ั
ี
็
ี
ู
่
ี
ื
�
บ้านเกดเมองนอน แต่กมผ้สงวยอกจานวนหนึงทเลอกเมองไทยเป็น
่
ิ
ื
ื
“บ้านหลังสุดท้าย” และเลือกที่จะตายที่นี่
“บ้านหลังสุดท้าย” พาผู้ชมไปทาความรู้จักกับผู้สูงวัยเกษียณ
�
ื
อายุท่เลือกมาอยู่เมืองไทยแบบระยะยาวใน 3 พ้นท่ 3 ภาคคือ ท ่ ี
ี
ี
ึ
�
จ.เชียงใหม่ซ่งปัจจุบันมีชาวญ่ปุ่นมาพานักแบบระยะมากถึงกว่า 3,000
ี
คน ซึ่งนิยมพักตามคอนมิเนียมเดียวกัน หรือใกล้กัน
บางส่วนที่รักความสงบก็จะพักออกไปจากตัวเมือง แล้วเดิน
ี
ทางลงใต้สู่ชายฝั่งทะเลอ่าวไทย สู่ หมู่บ้านชาวประมงเล็กๆ ท่เงียบ
สงบ โดยเฉพาะช่วงเดือนตุลาคมถึงเมษายน ชาวสแกนดินีเวียน โดย
เฉพาะชาวสวีเดนกว่า 4,000 คน เลือกท่จะหนีจากอากาศหนาวใน
ี
บ้านเกิดมาพักผ่อนที่เมืองไทย
ขณะท่ในภาคอีสาน ก็มีบ้านพักหลังวัยเกษียณ บนเนื้อท่กว่า
ี
ี
ี
ิ
13 ไร่ ท้ายหมู่บ้านนาแพง ต.บ้านดู่ อ.นาโพธ์ จ.บุรีรัมย์ ท่แวดล้อม
ด้วยทุ่งนา ห่างจากตัวอาเภอเมืองถึงประมาณ 90 กิโลเมตร ปราศจาก
�
ความเจริญใดๆ นอกจากความเงียบสงบ เพ่อรองรับคนวัยเกษียณ
ื
ชาวสวิตเซอร์แลนด์ เยอรมัน และออสเตรีย
96 เ องเ ่าค ท างา ส อสา า ไทยพีบีเอส