Page 110 - AgingSociety
P. 110
ี
ิ
�
ั
ทุกคนไม่อยากเป็นช่นน้น) ส่งที่สาคัญท่สุดในการส่งเสริมให้ผู้สูงวัย
ี
ท�างาน มีรายได้ของตนเอง คือการเปล่ยนมุมมองของสังคม ให้
ตระหนักเห็นว่าผู้สูงอายุเป็น “พลัง” สาคัญของประเทศ มิใช่ “ภาระ”
�
ี
ื
ท่รอคอยให้สังคมย่นมือเข้าไปช่วยเหลือ หรือเป็นเพียงผู้รอรับ
สวัสดิการเพียงอย่างเดียว
เน้อหาของสารคดีตอน “แม่ก็คือแม่” พาผู้ชมไปพบกับผู้
ื
ี
สูงวัยท่ได้รับโอกาสขยายอายุการทางาน อย่าง ป้าสงัด อายุ 71 ปี
�
แม่บ้านประจาสถาบันวิจัยสังคม
�
ั
แม้งานเหล่าน้น อาจไม่ใช่ตาแหน่งหน้าท่ย่งใหญ่ในสายตา
�
ิ
ี
ของคนทั่วไป แต่การที่ป้าสงัดได้แสดงศักยภาพ ท�างานที่รัก จะท�าให้
ี
เราเห็นถึง “พลัง” ท่ฉายออกมา การไม่ต้องเป็นภาระของลูกหลาน
สามารถสร้างความม่นคงทางรายได้ด้วยตนเอง ทาให้เกิดความรู้สึก
ั
�
ี
ิ
ภูมิใจในตนเอง รู้สึกถึงคุณค่า และศักด์ศรีในตัวเอง นอกจากน้ยังช่วย
ุ
ึ
ั
ให้ผ้สงอาย “ไม่เหงา” ป้องกนการเป็นโรคซมเศร้าอนจะเป็นต้นเหต ุ
ู
ั
ู
ของโรคต่างๆ ที่อาจตามมาได้อีกด้วย
นอกจากน้น “แม่ก็คือแม่” ยังพาไปพบกับผู้สูงวัย ท่ “ไม่ม ี
ั
ี
โอกาส” จะรับโอกาสในการทางานอีกต่อไป เน่องจากการป่วยเป็นโร
�
ื
คอัลไซเมอร์ อย่างป้าเสาวภาอายุ 71 ปี ภาระการดูแลตกเป็นของแป๋ว
ลูกสาววัย 35 ปี ที่มีอีกบทบาทเป็นคุณแม่เลี้ยงเดี่ยวที่ต้องดูแลลูกวัย
11 ขวบ การเป็นชนชั้นกลางที่ต้องรับบทบาทลูกที่ต้องดูแลทั้ง “แม่”
้
ู
ึ
ั
ี
ิ
ั
ั
็
�
่
สงวัยและลูกทยงเลก ทาใหแปวตองมวธีจดการกบชวตและความรสก
ู
ี
ี
ิ
้
้
๋
อย่างไร เพ่อให้เกิดสมดุลในชีวิตตัวเอง และทาบทบาทท้งสองให้ดีท่สุด
ี
�
ั
ื
สังคมสูงวัยกับความใส่ใจของไทยพีบีเอส 99