Page 112 - AgingSociety
P. 112
คณะอาเภอพาน จังหวัดเชียงราย และหน่วยงานต่างๆ ในชุมชนไม่ว่า
�
จะเป็นองค์การบริหารส่วนตาบล โรงเรียน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุข
�
�
�
ภาพตาบลมีการทางานแบบบูรณาการ พยายามจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อ
แก้ปัญหาผู้สูงวัยที่เริ่มก่อตัวชัดตั้งในปีนั้นเอง
แต่แล้วในปีพ.ศ.2549 ผู้สูงวัยคนหน่งได้ฆ่าตัวตาย ชุมชน
ึ
จึงพยายามเฝ้าระวัง และหาทางป้องกันโดยการจัดกิจกรรมต่างๆ
แต่กลับยังมีผู้สูงวัยฆ่าตัวตายอีก
ื
เม่อพบว่า “ความเหงา” และ “ภาวะซึมเศร้า” เป็นสมมติฐาน
ใหม่ของปัญหาใหญ่ผู้สูงอายุ พระครูสุจิณกัลยาธรรม และหน่วยงาน
ต่างๆ ในต�าบลหัวง้ม พยายามร่วมกันหาทางออกอีกครั้ง จนเกิดเป็น
โรงเรียนผู้สูงอายุ เมื่อปี 2553 โดยท�าการเรียนการสอนอาทิตย์ละ 1
วันโดนใช้ศาลาเป็นห้องเรียน มีลานกิจกรรมเอนกประสงค์ สอนให้ผู้
สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในการดาเนินชีวิต ท้งวิชาหลักพุทธศาสนา
�
ั
ี
ั
สุขอนามัย และวิชาการการท่วไปท่เป็นประโยชน์ต่อการเป็นผู้สูงวัยท ่ ี
ั
มีคุณภาพ ต้งแต่วิชาภาษาอังกฤษ ไปจนถึงวิชากฎหมายเพ่อผู้สูงวัย
ื
โดยครูอาสาสมัครก็คือข้าราชการเกษียณอายุในต�าบาลหัวง้มนั่นเอง
รวมทั้งการเชิญวิทยากรพิเศษมาบรรยายเป็นครั้งคราว และ
จัดกิจกรรมตามความต้องการของผู้สูงวัย ภายใต้คอนเซ็ปต์ “แก่อย่าง
สง่า ชราอย่างมีคุณภาพ” คือรู้จักดูแลสุขภาพตัวเองให้ไม่เจ็บป่วย แต่
ี
หากเจ็บป่วยไปแล้วก็ต้องเรียนรู้ท่จะอยู่กับอาการป่วยไข้อย่างเข้าใจ
ตัวเองและโรคภัยของตน รวมทั้งการท�าตัวเป็นผู้สูงวัยที่มีคุณภาพ ไม่
สร้างภาระให้ลูกหลาน เข้าใจความอนิจจังของชีวิต เป็นต้น
ี
ี
ี
โรงเรียนแห่งน้ ไม่ได้เป็นแค่เพียงสถานท่ท่ให้ความรู้ทางด้าน
สุขอนามัย และธรรมะ หรือหลักวิชาชีวิตส�าหรับผู้สูงวัยเท่านั้น แต่ที่
สังคมสูงวัยกับความใส่ใจของไทยพีบีเอส 101