Page 184 - AgingSociety
P. 184
ื
“พอเราเรียนรู้เร่องสังคมผู้สูงวัยก็ทาให้นึกถึง สังคมผู้สูงวัย
�
ในญี่ปุ่น ที่ผู้สูงวัยสามารถแสดงออกได้อย่างเสรี มีพื้นที่สาธารณะ ได้
ื
ี
รับการสนับสนุนอย่างเต็มท่เหมือนคนช่วงวัยอ่นๆในสังคม ดังน้นสังคม
ั
ึ
ั
ู
ั
ู
้
ั
ู
ู
ผ้สงวยของไทยจงควรเปิดโอกาสตรงนให้ผ้สงวยด้วยเช่นกน แต่ก่อน
ี
�
ี
ี
ี
จะเปล่ยนแปลงให้เหมือนสังคมญ่ปุ่น การท่ทาให้พวกเขาใช้ชีวิตอยู่ใน
สังคมได้ด้วยการพึ่งพาตนเองนั้น เป็นสิ่งที่ต้องปรับกันกอนเป็นล�าดับ
่
ี
แรก การเห็นผู้สูงวัยของไทยรู้เท่าทันการเปล่ยนแปลงต่างๆ และได้
รับการยอมรับจึงถือเป็นเร่องท่ส่อเพ่อการเรียนรู้สู่การเปล่ยนแปลง
ี
ื
ื
ื
ี
สังคมอย่างไทยพีบีเอสให้ความสาคัญและพร้อมจะทาให้สังคมเกิดการ
�
�
เรียนรู้เร่องสังคมสูงวัยในทุกๆรูปแบบ และให้ยอมรับว่าไทยเข้าสู่สังคม
ื
ผู้สูงวัยอย่างเต็มรูปแบบแล้ว”
ี
ื
“ต่อไปคงต้องมองถึงการใช้เคร่องมือทุกอย่างท่มีอยู่เข้ามา
ช่วย อย่างเช่น นักข่าวพลเมืองท่เรามือเครือข่ายอยู่แล้ว ต่อไปก ็
ี
อยากจะทาโครงการนักข่าวพลเมืองสูงวัย แล้วใช้กระบวนการส่ง
�
ั
ื
ั
เสริมนักข่าวพลเมืองสูงวัยให้เขารู้จกมีทักษะและรู้เท่าทนส่อ พร้อม
ื
ื
ั
ท้งสอนการใช้เคร่องมือเพ่อไม่ให้ตกเป็นเหย่อของส่อออนไลน์ ตอน
ื
ื
ี
ื
น้ผู้สูงวัยใช้ส่อออนไลน์กันเยอะและค่อนข้างจะถูกหลอกเยอะ และ
ถ้าเราปั้นให้เขาเป็นนักข่าว ก็เหมือนกับการให้พลังบวกแก่เขา ให้
เขาได้มีตัวตน”
ั
ี
ี
นอกจากน้ ในอนาคตจะมีการพัฒนาแอพพลิเคช่นท่รวบรวม
เอาเน้อหา ข้อมูลเก่ยวกับผู้สูงวัย ท่ดูแล้วเข้าใจง่าย เป็นมิตรกับผู้สูง
ื
ี
ี
วัยมารวบรวมไว้ด้วยกันเพ่อให้ผู้สูงวัยสามารถเข้าถึงได้ง่าย เป็นอีก
ื
ทางเลือกหนึ่งในการเข้าถึงเนื้อหาเกี่ยวกับผู้สูงวัย นอกเหนือไปจากที่
ช่องทางอื่นๆ ของสถานีก็ยังคงให้ความส�าคัญกับประเด็นนี้ต่อไป
สังคมสูงวัยกับความใส่ใจของไทยพีบีเอส 173